Introducing 

Prezi AI.

Your new presentation assistant.

Refine, enhance, and tailor your content, source relevant images, and edit visuals quicker than ever before.

Loading…
Transcript

UNIT OPERATION

unit operation

unit operation

การปฏิบัติงานในหน่วย หมายถึง

ระบบปฏิบัติการหน่วยย่อยต่างๆ

ภายใน โรงงานอุตสาหกรรม

ความหมาย

OUTSIDE OPERATOR

ACCEPT SHIFT TURNOVER การแลกเปลี่ยนการทำงาน

PREPARING THE SAMPLE เตรียมตัวอย่าง เก็บตัวอย่าง

หนัาที่ operator

MONITOR THE EQUIPMENT ตรวจสอบอุปกรณ์ที่ใช้ในการผลิต

SAFETY ISOLATION PROCEDURE ความปลอดภัยควบคุมการไหลต่างๆ

piping system

piping

system

Expansion joint

expansion

joint

คุณสมบัติ

สามารถหดตัวได้(Compression)

สามารถยืดตัวได้ (Elongation)

สามารถเคลื่อนไหวเชิงมุมได้ (Angular Movement)

สามารถเคลื่อนไหวในแนวต่างระดับได้

(Transverse Movement)

การติดตั้ง

ติดตั้งเพื่อป้องกันเสียงและความสั่นสะเทือน

ที่เกิดจากการทำงานของเครื่องจักรหลักต้อง

ติดตั้งให้ใกล้กับเครื่องจักรหลักมากที่สุด

ยกเว้นถ้าต้องต่อข้อต่อลด(ในกรณีของ

เครื่องสูบน้ำ)จากเครื่องจักรหลักให้ต่อหลัง

ข้อต่อลดเพื่อให้ใช้ขนาดเท่ากับเส้นท่อที่ต่อ

กับเครื่องจักรนั้นๆ

Pressure gauge

pressure gauge

หน้าที่

นิยมใช้สำหรับวัดค่าความดันก๊าซและของเหลว

อ่านค่าความดันได้ที่หน้าปัด ส่วนใหญ่เป็น

แบบอนาล๊อคหรือแบบเข็ม

1.General pressure gauge

ใช้วัดแรงดันที่เป็นย่านค่าบวก

2. Vacuum gauge

ใช้วัดแรงดันที่เป็นย่านค่าลบ

3. Compound gauge

สามารถวัดแรงดันได้ทั้งค่าบวกและลบได้ในตัวเดียวกัน

ประเภท

Strainer เป็นอุปกรณ์ที่ทำ หน้าที่กรองสิ่งสกปรก หรือ แผ่นสนิม(Scale)ไม่ให้เข้าไป

ในอุปกรณ์เครื่องจักรและ

ขบวนการผลิต ซึ่งจะมีผลทำให้เกิดผลกระทบ

strainer

ผลกระทบเมื่อไม่ติดตั้ง strainer

ผลกระทบ

-ทำให้เกิดการอุดตัน ( Plugged )

-ทำให้อัตราการไหลลดลง ( Low Flow)

-ทำให้ประสิทธิภาพในการแลกเปลี่ยน

ความร้อนลดลง

- ทำให้ชิ้นส่วนของอุปกรณ์ เครื่องจักรได้รับความเสียหาย

ส่วนประกอบ

-Body เป็นการออกแบบตามลักษณะการใช้งาน เช่น Y-Strainer Basket Strainer และ Tee – Strainer เป็นต้น

-Screen เป็นส่วนที่ใช้สำหรับยึดติด

กับ Wire Mesh ส่วนใหญ่ทำจาก Perforate plate Stainless steel

-Wire Mesh เป็นส่วนที่ห่อหุ้ม Screen ซึ่งขึ้นอยู่กับลักษณะการใช้งานโดยเลือกตามเบอร์ และ Open Area ต่อพื้นที่ 1 นิ้ว

ชนิดของ strainer

Type Of Strainer

Y- Strainer ออกแบบให้สามารถติดตั้งทั้งแนวตั้ง แนวนอน โดยให้ตำแหน่งของ Screen อยู่ด้านล่าง ซึ่งสามารถ ที่จะดัก Scale ที่เป็นของแข็ง และมีน้ำหนักให้มารวมกัน นอกจากนี้ยังสามารถทำความสะอาดโดยไม่

ต้องถอด Strainer ออกมา ทำได้โดย การต่อ Line Drain ที่บริเวณหน้าแปลน ( End Flange )

Y- Strainer

Basket strainer

จะถูกออกแบบใหม่ขนาดค่อนข้างใหญ่เพื่อสามารถ รองรับจำนวนของScaleได้มากและจะสามารถยึด

ระยะเวลาที่จะต้อง ทำความสะอาดออกไป ทั้งนี้ยงัสามารถติดตั้งอุปกรณ์เสริมให้เป็นระบบ Automatic Flush ได้

Basket Strainer

Tee strainer

ออกแบบสำหรับกรอง Scale จากระบบท่อ ( Piping ) ซึ่งส่วนใหญ่จะติดตั้งSuction Pump เพื่อป้องไม่ให้เครื่องจักรได้รับความเสียหาย

Tee Strainer

Gasket

gasket

เป็นอุปกรณ์อุด(Seal)ไม่ให้ของไหลหลุดรอดมา

ได้การที่อุปกรณ์สองสิ่งมาประกบกันโดยตัวของปะเก็น

เองจะยุบตามแรงบีบอัดและยุบตัวหรือ

ขยายตัวอุดช่องว่างระหว่างฝาประกอบกันของอุปกรณ

์เพื่อลดแรงที่กระทำต่อช่องว่างหรือวัสดุอุดช่องว่าง

นั้นโดยทำให้พื้นที่หน้าตัดรับความดันเล็กลง

หน้าที่

การเลือกใช้

Temperature

ความคงสภาพต่อการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิ

Chemical Resistance สภาพการทนทานการกัดกร่อนต่อสารเคมี

Pressure ความคงสภาพต่อการเปลี่ยนแปลงของความดัน

Impermeability ความสามารถไม่ให้ซึมผ่านตัวมันเอง

Thickness ความหนา

-การกัดกร่อนเนื่องจากเลือกใช้วัสดุที่ไม่ถูกต้องกับสารลำเลียง

-การยอมให้แทรกซึมผ่านตัวปะเก็นเองเมื่อสารแทรกซึม

ผ่านภายใน

-การขันสลักเกลียว ถ้าทำอย่างขาดคุณภาพ

-เปลี่ยนปะเก็นใหม่เมื่อมีการถอด

-ปะเก็นหมดอายุการใช้งาน

สาเหตุุการรั่ว

Flange

flange

สิ่งที่ทำหน้าที่เชื่อมต่อระหว่างปลายของท่อ หรือ เชื่อมต่อกันระหว่างท่อกับอุปกรณ์อื่นๆ หรือ เชื่อมต่อกันระหว่างอุปกรณ์ 2 ชนิด

หน้าที่

Flange แต่ละชนิด

ชนิด

ลักษณะคล้ายกันกับ Slip-On Flange แต่ภายในBoreมีเกลียวสามารถประกอบเข้า

ได้อย่างรวดเร็วใช้ในกรณีที่ต้องการหลีกเลี่ยงการเชื่อมนอกจากนี้ยังเหมาะแก่การใช้งานในบริเวณที่ค่อนข้างไวไฟ (Hazardous) ซึ่ง การเชื่อมไม่สามารถกระท าได้ Screwed Flange มีความแข็งแรงทนทานต่อ ความดันสูงที่อุณหภูมิปานกลาง

Threaded Flange

หน้าแปลนจะมี Taper hub ซึ่ง hub จะค่อนข้าง สูง การเชื่อมต่อชน(ButtWelded)ทำให้หน้าแปลน

เหมือนเป็นส่วนเดียวกันกับท่อเหมาะสำหรับการใช้

งานในสภาวะที่ค่อนข้างรุนแรงเช่นมีการเปลี่ยน

แปลงของความดันและอุณหภูมิอย่างมากการใช้งานที่ เกี่ยวข้องกับความร้อน มีการขยายตัวของระบบท่อ

Welding-Neck Flange

Slip-On Flange

หน้าแปลนจะมี Hub เตี้ยๆอยู่Boreจะมีขนาดใหญ่กว่า เส้นผ่าศูนย์กลางภายนอกของท่อเล็กน้อยเป็นที่นิยม

ใช้กันอย่างแพร่หลายเพราะประกอบทำได้ง่ายและรวดเร็ว จะเชื่อมทั้งด้านในและด้านนอก Slip-On Flange จะถูกกว่า Welding-Neck Flange ดังนั้น Slip-On Flange จึงเหมาะกับงานสภาวะปานกลาง

Lap-Joint Flange

ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ หน้าแปลนและ Lap Joint Stub ส่วนของหน้า แปลนมีลักษณะคล้ายกันกับ Slip-On Flange สำหรับส่วน Stub จะเป็น Flange ที่มาเชื่อมติดกับปลายต่อ หน้าแปลนจะสวมไปชนกับ Stub ส่วนที่สัมผัสกับ ของเหลวใน Process จะมีแต่ Stub เท่านั้น หน้าแปลนแบบนี้สามารถหมุนได้ โดยรอบ ดังนั้น จึงง่ายแก่การประกอบ ดังนั้นจึงมักใช้กับท่อที่มีขนาดใหญ่ๆ

Socket Welding Flange

ลักษณะคล้ายกันกับ Slip-OnFlangeแต่ขนาดของ Bore จะเป็น ขนาดเดียวกับขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางภายในท่อ มีขนาดเล็กกว่า Counter Bore ท่อจะสวมเข้ากับหน้าแปลนโดยปลายท่อวางบนบ่าของ

หน้าแปลน แล้วเชื่อม ด้านนอกของแปลน Socket Welding ใช้ได้ดีกับท่อขนาดเล็ก และความดันค่อนข้างสูง

เป็น Flange ที่ไม่มี Bore ใช้ในการปิดรูร่วมกับ Flange แบบอื่น ๆพวก Hand Holes , Inspection Port ของ Vessel ซึ่งสามารถ ปิดเปิดได้โดยง่าย และใช้ปิดกั้นปลายท่อและวาล์ว

Blind Flange

ใช้ในการตัดระบบออกจากกัน ช่วงที่มีการ ซ่อมบำรุงท่อที่ใช้กับของไหลเป็นพิษและติดไฟ จะถูกนำมาใช้สอดระหว่าง Flangeเพื่อป้องกันการรั่ว

solation Blind

Fitting

fitting

- ต่อท่อกับท่อและอุปกรณ์อื่น

-เปลี่ยนทิศทางการไหล

-เส้นท่อเพิ่มหรือลดขนาดท่อ

-จุดปิดปลายท่อ

หน้าที่

Piping

piping

ท่อจะแบ่ง ออกเป็น 3 ประเภทหลักๆ คือ

-ท่อ (Pipe)

-ท่อบาง (Tube)

-ท่ออ่อน (Hose)

ประเภท

คุณลักษณะเฉพาะของท่ออ่อน(Hose)ไม่มีการ

กำหนดเป็นมาตรฐานตายตัวเหมือนท่อและท่อ

บาง เนื่องจากมีการใช้งานหลายลักษณะ เช่น ท่อต่อ

อ่อน,ท่อในระบบนิวแมติก,ท่อในระบบไฮดรอลิก

เป็นต้น โดยทั่วไปขนาดระบุของท่ออ่อนมีการ

ระบุเส้นผ่าศูนย์กลาง

hose

Tube จะทำหน้าที่ เหมือนกับ Pipe แต่

TUBE SIZE จะมีค่าเท่ากับเส้นผ่านศูนย์กลาง

ภายนอกส่วนมากใช้ที่ Heat Exchanger และ

Instrument Line ผลิตภัณฑ์ Tube ที่ใช้งานส่วนใหญ่

มีขนาดเริ่มตั้งแต่ OD.1/8 นิ้ว (3.175 mm) ถึง 3 นิ้ว

(76.2 mm) ส่วน Tube ที่ขนาดใหญ่กว่า 3 นิ้ว ก็มีใช้

งานอยู่บ้างแต่มีน้อยมาก

tube

pipe หมายถึงผลิตภัณฑ์ท่อที่กำหนดขนาด

โดยการระบุค่า Nominal Size เช่น ประเทศ

สหรัฐอเมริการะบุขนาดเป็น Nominal Pipe Size

(NPS) และนานาชาติระบุขนาดเป็น Diameter

Nominal (DN) ส่วนประเทศญี่ปุ่นระบุขนาดเป็น

Nominal Diameter (ND) ซึ่งทั้งสามชื่อเป็นขนาด

ที่เป็นเพียงชื่อเรียกเท่านั้น อาจจะไม่ใช้ค่าจริง

ของเส้นผ่านศูนย์กลางภายนอก สำหรับความ

หนาของผนังท่อถูกกำหนดเป็น Schedule

Number หรือ Weight Class โดยส่วนใหญ่ Pipe

มักถูกใช้เป็นท่อที่เชื่อมต่อจากอุปกรณ์หนึ่งไปยัง

อีกอุปกรณ์ผลิตภัณฑ์

pipe

-ขนย้ายของไหล

-นำทางและปรับอัตราไหล

หน้าที่

symbol

valve

valve

ทำหน้าที่คือ เปิด-ปิดทางเดินของของไหล ควบคุมอัตราการไหลของของไหลสามารถปรับให้

ของไหลไหลในระดับที่ต้องการเปลี่ยนทิศทาง

การไหลได้โดยง่าย ป้องกันการไหลย้อนกลับ และป้องกันไม่ให้ของไหลไหลมาผสมกัน

การควบคุมการทำงานของวาล์วมีหลายชนิด

เช่น วาล์วที่ควบคุมได้เองโดยอัตโนมัติ และวาล์วที่ควบคุมได้โดยใช้มือปรับ

Sefety valve

Safety Valve

ใช้กับก๊าซหรือไอซึ่งจะเปิดอย่างรวดเร็วเมื่อ

ความดันสูงเกินกำหนดและจะปิดอย่างรวดเร็ว

เมื่อความดันถึงค่าที่ตั้งไว้

คุณสมบัติ

ส่วนประกอบ

Relief valve

Relief Valve

ใช้กับของเหลว ซึ่งจะเปิดอัตโนมัติ

เป็นสัดส่วนกับการเพิ่มขึ้น

ของความดันเหนือความดันที่ตั้งไว้ ซึ่งของเหลวจะถูกปล่อยออกทีละนิด

คุณสมบัติ

ส่วนประกอบ

Plug valve

Plug Valve

คุณสมบัติ

-ออกแบบให้มีการไหลแบบตรง มีลักษณะการเปิด/ปิดแบบหมุน

- สามารถเปิด/ปิดได้อย่างรวดเร็ว เพราะหมุนเพียง 90 ํ

- ส่วนใหญ่จะมีการหล่อลื่นด้วยจาระบี

- มีชิ้นส่วนน้อย ง่ายต่อการรักษา

- มี pressure drop ต่ำ

ส่วนประกอบ

Ball valve

Ball Valve

-เหมือน plug valve แต่ disc เป็นรูปทรงกลม

-เหมาะสำหรับ media ที่เป็น slurry

-ผิวหน้าของ valve มีขนาดใหญ่ ต้องการพื้นที่ในการติดตั้งมาก

คุณสมบัติ

ส่วนประกอบ

Swing check valve

Swing Check Valve

ส่วนประกอบ

คุณสมบัติ

-มีลักษณะการไหลที่เป็นเส้นตรง

-Disc จะปิดลงด้วยแรงโน้มถ่วง

- ออกแบบมาให้มีการต้านทานการไหลน้อยที่สุดจึงออกแบบมาให้ใช้กับ Gate valve

- ง่ายต่อการทำความสะอาด

- ไม่เหมาะที่จะใช้กับ media ที่เป็น slurry เพราะจะทำให้ปิดไม่สนิท

- หากนำมาใช้กับท่อในแนวดิ่งจะเพิ่ม pressure drop มากขึ้น

Angle valve

Angle Valve

คุณสมบัติ

-เหมือนกับ globe valve เพียงแต่ทิศทางการไหลออกจะตั้งฉากกับการไหลเข้า

-มีการออกแบบให้ของไหลผ่าน body valve ง่ายขึ้น ทำให้น้ำหนักเบา และถูกกว่า

- ประหยัดในการใช้ข้องอ

ส่วนประกอบ

Diaphragm valve

Diaphragm Valve

คุณสมบัติ

-แผ่น diaphragm จะผนึกปิด valve โดยตรง และยึดติดกับตัว bonnet valve

-ไม่มีการ leak ที่ตัว bonnet ของ valve

-ไม่มีการกัดกร่อน

- เหมาะกับสารเคมีที่มีฤทธิ์กัดกร่อน

ส่วนประกอบ

Butterfly valve

Butterfly Valve

ส่วนประกอบ

คุณสมบัติ

-มีเพียง disc valve เท่านั้นที่ขวางการไหล

-Pressure drop ต่ำ

-ใช้พื้นที่น้อยในการติดตั้ง

สามารถควบคุมการไหลจากปิดสนิทจนถึงเปิดประมาณ 60o

-แต่ไม่เหมาะกับการ control flow ที่ละเอียดมาก

Needle valve

Needle Valve

ส่วนประกอบ

คุณสมบัติ

-เหมือน globe valve แต่สามารถ control flow ที่ละเอียดมากๆได้

-เกิด pressure drop สูงมาก เพราะ media ต้องไหลผ่านช่องที่มีขนาดเล็กมาก

- อาจมีเศษผงตกค้างได้ง่าย

Globe valve

Globe Valve

คุณสมบัติ

-การไหลผ่าน valve มีทิศทางขึ้นและลงผ่านบ่า valve มาก

-การเคลื่อนที่ของdiscนั้นต้านกระแสการไหล

โดยตรง

-เกิด pressure drop ในตัว valve มาก

แต่สามารถ control flow ได้ดี

ส่วนประกอบ

Gate valve

Gate valve

คุณสมบัติ

-ช่องทางการไหลผ่าน valve เป็นเส้นตรง

-การเคลื่อนที่เปิด/ปิดของ disc จะทำให้เกิดช่องเป็นรูปเสี้ยววงกลม และเกิดการเปลี่ยนพื้นที่การไหลรวดเร็วมาก เหมาะใช้งานเปิด/ปิด เท่านั้น

-มีลักษณะค่อนข้างบาง ราคาถูก

ติดตั้งสะดวก, Pressure drop ต่ำ

ส่วนประกอบ

symbol

pump หรือ เครื่องสูบ คืออุปกรณ์ ทำหน้าที่เพิ่มพลังงานให้แก่ของไหล เพื่อทำให้ของไหลเคลื่อนที่จากตำแหน่งหนึ่ง

ไปยังอีกตำแหน่งที่อยู่สูงกว่า หรือในระยะทางที่ไกลออกไป โดยพลังงานที่ให้กำลังแก่ปั๊มมาจากเครื่องยนต์ มอเตอร์ แรงลม

แรงคน หรือแหล่งพลังงานอื่นๆ โดยถ้าของไหลที่สูบเป็นน้ำหรือของเหลวจะเรียกว่าปั๊มหรือเครื่องสูบ ถ้าของไหลที่สูบเป็น

อากาศจะเรียกว่า เครื่องสูบอากาศห รือเครื่องอัดอากาศ (compressor)

pump

แบ่งได้สามประเภทดังนี้

- Kinetic pump

- Rotary pump

- Reciprocating Pump

ประเภท

ทำงานโดยการโดยใช้นำพลังงานที่ได้จากการหมุน ให้ไปเพิ่มพลังงานให้กับของเหลว โดยการหมุน ของครีบของใบพัด เมื่อของเหลว เกิดการเคลื่อนผ่านช่องระหว่างครีบของใบพัด ก็จะเกิดการยกตัวของโมเมนตัมของของเหลวให้สูงขึ้นกลายเป็นความเร็ว หรือเกิดเป็นพลังงานจลน์ขึ้น หรือเรียกว่า หัวความเร็ว (Velocity head) เมื่อของเหลวไหลออกจากใบพัดของปั๊ม พลังงานนี้จะถูกแปลงไปเป็น หัวความดัน (Pressure head)

Kinetic pump

ปั๊มแรงเหวี่ยง เป็นชั้นย่อยของปั๊มที่ใช้ในการขนส่งของเหลวโดยการแปลง

พลังงานจลน์ของการหมุน (kinetic energy) ถูกเปลี่ยนเป็นพลังงานทางอุทกพลศาสตร์ (hydrodynamic energy) พลังงานหมุนส่วนใหญ่มาจากมอเตอร์ไฟฟ้า หรือเครื่องยนต์ โดยของเหลวจะถูกส่งผ่านเข้าไปในใบพัดปั๊ม พลังงานการหมุนถูกนำไปเพิ่มพลังงานให้กับของเหลวอย่างต่อเนื่อง เกิดการเคลื่อนไหวผ่านช่องระหว่างครีบของใบพัด จะเกิดการผลักดันให้เกิดการไหลออกไปในแนวรัศมี ความเร็วจากการไหลที่ออกไปจากใบพัด ก็จะถูกแปลงเป็นพลังงานความดัน (pressure energy) ภายในเสื้อปั๊ม โดยปั๊มมีลักษณะการไหลเป็น 3 แบบ คือ

Centrifugal

ไหลในแนวรัศมี (Radial flow Pump) มักจะใช้เป็นสัญลักษณ์ของปั๊มแรงเหวี่ยงทั้งหมด โดยของเหลวจะถูกผลักให้ไหลเข้าสู่ทางดูดของปั๊มในแนวระนาบขนานกับแกนหมุนของปั๊ม เมื่อถึงกึ่งกลางของใบพัด ของเหลวจะถูกผลักให้ไหลในแนวตั้งฉากกับแกน

หมุน และไหลออกจากใบพัดในแนวรัศมี ปั๊มไหลในแนวรัศมีจะทำงานที่ความดันสูงกว่า แต่อัตราการไหลต่ำกว่าของปั๊มตามแนวแกน และปั๊มแบบไหลผสม

Radial flow

ปั๊มแบบไหลผสมจะมีคุณสมบัติของการทำงานผสมกันระหว่างปั๊มไหลในแนวรัศมีและปั๊มไหลตามแนวแกน ของเหลวสามารถทำงานในแนวรัศมีในการยกระดับ

ความสูงของการส่งน้ำขณะเดียวกันสามารถผลักของ

เหลวออกจากใบพัดที่ทำมุมระหว่าง 0o ถึง 90o (ส่วนใหญ่ประมาณ 45o) จากทิศทางตามแนวแกน สรุปปั๊มแบบไหลผสมสามารถดำเนินงานที่ความดันสูงกว่าปั๊มไหลตามแนวแกน ขณะเดียวกันปริมาณการไหลสูงกว่าปั๊มไหลในแนวรัศมี มุมทางออกของการไหลจะมีความสัมพันธ์ระหว่างกับปั๊มไหลในแนวรัศมี และปั๊มไหลตามแนวแกน

Mixed flow

ปั๊มไหลตามแกน (axial-flow pump) หรือ AFP เป็นปั๊มชนิดที่พบบ่อยมาก ตัวปั๊มประกอบด้วย ใบพัด (propeller) และเสื้อปั๊ม (ส่วนใหญ่รูปร่างคล้ายท่อ) ใบพัดสามารถขับเคลื่อนโดยตรงด้วยมอเตอร์ หรือโดยเครื่องยนต์ต่างๆ โดยใช้เพลาขับเคลื่อนที่ติดตั้งทะลุออกมาจากส่วนที่

เป็นข้องอ 90 องศาของท่อ

ของไหลที่ไหลผ่านปั๊มลักษณะนี้ จะไม่ค่อยเปลี่ยนเส้นทางการไหลโดยเฉพาะในแนวรัศมี โดยเริ่มตั้งแต่ทางดูด จนถึงทางส่ง และการไหลจะขนานไปกับแกนหมุนของปั๊ม ดังนั้นจึงเรียกปั๊มชนิดนี้ว่า “ปั๊มไหลตามแกน”

Axial flow

ปั๊มกลุ่มรีเยนเนอเรทีฟเทอไบน์ (Regenerative Turbine) มี 2 ลักษณะ คือ ปั๊มไหลรอบแนวขอบผิว (Peripheral flow Pump) และ ปั๊มช่องด้านข้าง (Side channel pump)

Regenerative turbine

Peripheral flow

ปั๊มไหลรอบแนวขอบผิว (Peripheral flow Pump) จัดเป็นปั๊มแทนที่บวก (แบบลูกสูบหรือแบบโรตารี่/หมุน) คล้ายคลึงกับปั๊มช่องด้านข้าง

(side channel) เริ่มวงจรการทำงาน ครีบใบพัดหมุนมาถึงที่พื้นที่การไหลเข้าของไหลที่ผ่านจากช่องทาง

ดูด(inlet port) ของเหลวจะถูกส่งเข้าไปในช่องว่างของครีบใบพัด(vanes) ที่เกิดมาจากความดันบรรยากาศปกติ หรือจากความดันสถิตก็ได้ ด้วยปริมาณที่เหมาะสม ขณะเดียวกันใบพัดจะมีฝาประกบอยู่ทั้ง 2 ข้าง ที่ฝาประกบบริเวณที่ตรงกับครีบใบพัดจะมีทำเป็นร่อง (channel) โดยรอบ ขณะที่ใบพัด (impeller) หมุนไปด้วยความเร็วรอบสูง ของไหลที่อยู่ระหว่างครีบใบพัดและร่องก็สูงตามไปด้วย เกิดการไหลวนเวียนอย่างเป็นระเบียบในรูปของวังน้ำวน (vortex) ของเหลวก็จะมีพลังงานของการไหล หรือพลังงานจลน์ สะสมอยู่ เมื่อห้องระหว่างครีบใบพัดนี้หมุนมาตรงกับช่องทางส่ง (outlet port) ก็เกิดการสลัดตัวของของไหล ทำให้เกิดการไหลออกไป พลังงานจลน์ที่สะสมอยู่เปลี่ยนกลายเป็นพลังงานความดัน เมื่อห้องระหว่างครีบใบพัดว่างลง วงจรการทำงานจึงเริ่มใหม่อีก การทำซ้ำๆหมุนเวียนกันตลอด จึงเรียกว่า “การเริ่มต้นใหม่ (regeneration)”

Side channel

ปั๊มช่องด้านข้าง (side channel) จัดเป็นปั๊มที่ผสมกันของปั๊มแทนที่บวก และปั๊มแบบแรงเหวี่ยง ที่สามารถสูบของเหลว หรือก๊าซผสมกับของเหลว เข้าไปในเซลล์ของใบพัด (impeller cells) และช่องด้านข้าง (side channel) ผ่านทางช่องไอดี (intake opening) ปั๊มช่องด้านข้างจะมีจุดขัดขวาง (interrupted point) ที่อยู่บนเสื้อปั๊มที่ยื่นออกมาจากเส้นรอบวง เพื่อการแบ่งแยกช่วงความดันต่ำและความดันสูงออกจากกัน ช่องด้านข้างจะถูกทำให้เป็นร่องเรียว เป็นผลให้ของเหลวถูกส่งออกในช่องระบายออกก่อนที่จะถึงจุดขัดขวาง โดยการผ่านต่อไปยังขั้นตอนต่อไป หรือผ่านออกไปจากทางส่ง

Special Effect

ปั๊มแบบแก๊สยกตัวหรือปั๊มฟอง ใช้เทคนิคการของเหลว เช่น น้ำ หรือน้ำมัน โดยอากาศอัด หรือสารที่ทำให้เกิดไอ เมื่อปล่อยออกจะเกิดเป็นฟองอากาศ หรือฟองไอของสารนั้น มีผลทำให้เกิดการลดความดันทางไฮโดรสแตติก (ความหนาแน่นน้อยลง) ทำให้ของเหลวเบาและไหลลอยตัวขึ้น ทำให้เกิดการไหลภายในท่อขึ้นได้

รูป (A) เป็น air lift ระบบเดิมที่ใช้ฟองอากาศใช้ในการทำให้เกิดการไหล ปัจจุบันนี้ปั๊มแบบแก๊สยกได้ถูกพัฒนาขึ้น ตามรูป (B) ได้มีพัฒนาให้เป็นก้อนอากาศลอยตัวเป็นก้อน สามารถดันของเหลวให้ไหลออกเป็นช่วงๆ ทำให้ประหยัดพลังงาน ประสิทธิภาพการปั๊มสูง อัตราการไหลคงที่และควบคุมได้ ดังรูปข้างล่าง

Gas lift

ปั๊มไฟฟ้าปั๊มที่ย้ายโลหะเหลว (หรือของเหลวที่นำไฟฟ้าได้) ใช้ในการระบายความร้อนด้วยโลหะเหลวของเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ โดยใช้ปั๊มแม่เหล็กไฟฟ้า โดยสนาม แม่เหล็กถูกตั้งให้มีมุมตั้งฉากกับทิศทางการเคลื่อนที่

ของของเหลวทำให้เกิดกระแสเหนี่ยวนำในของเหล็วเกิดแรงแม่เหล็กไฟฟ้าที่สามารถผลักดันให้ของเหลวนั้นไหลได้

Electromagnetic

ใบพัดของปั๊มชนิดนี้เป็นแผ่นดิสก์แบน ที่ช่วยเร่งของเหลวโดยแรงเฉือนของของเหลว ความสามารถของของเหลวที่จะต้านทานแรงเฉือน (หมายถึงความหนืดของของเหลว) ที่ช่วยให้เกิดปริมาณการไหล

ของของเหลว โดยของเหลวจะเกาะไปตามแผ่นดิสก์ และถูกเร่งส่งไปยังเสื้อปั๊ม ในขณะที่ปั๊มทำงานตามปกติ เมื่อของเหลวหลุดออกไปปะทะกับเสื้อปั๊ม พลังงานจากความเร็วของของเหลวจะถูกแปลงเป็นพลังงานความดัน ไหลออกไปจากท่อส่ง

Viscous drag

เป็นปั๊มแรงดันที่มีประสิทธิภาพสูง โดยแนวคิดการออกแบบที่ไม่ซ้ำกับกรณีปั๊มหมุนอื่นๆ มีเพียง 2 ส่วนของการทำงานขั้นพื้นฐาน คือเสื้อหมุน (Rotor) และท่อปิโตต (Pitot tube) เท่านั้น โดยการหมุนเสื้อหมุน (Rotor) โดยใช้มอเตอร์ขับเคลื่อนผ่านเพลา ในขณะแผ่นฝาปิดเสื้อปั๊ม (Rotor front cover) ก็จะหมุนตามไปด้วย ขณะเดียวกันของเหลวก็จะถูกส่งผ่านเข้าทางดูด ไหลเข้าไปในเสื้อหมุน ภายในห้องเสื้อหมุนจะติดตั้งท่อปิโตต (Pitot tube) ที่ยึดติดแน่นอยู่ในแนวตั้ง ของเหล็วที่อยู่ในเสื้อหมุนจะมีความเร็วสูง(ขึ้นอยู่กับรอบหมุนของเสื้อหมุน) พลังงานความเร็วของของเหลวในโรเตอร์ เมื่อปะทะกับรูทางเข้าของท่อปิโตต (ที่ยึดติดแน่น) ส่งผลให้พลังงานความเร็วถูกแปลงเป็นพลังงานความดัน ของเหลวที่ผ่านออกมาที่ท่อทางออกจะมีความดันสูง แต่มีปริมาณการไหลออกน้อย

Pitot pump

ปั๊มเจ็ทสกีทำงานโดยมีดูดน้ำ (ปกติจะอยู่ที่ไต้ลำเรือ) ที่ช่วยให้น้ำที่จะผ่านใต้ท้องเรือและท่อทางดูดเข้าไปในตัวใบพัดของปั๊ม การออกแบบสำหรับความเร็วสูงต้องใช้ปั๊มแบบแรงเหวี่ยง (centrifugal) ความเร็วปานกลางใช้ปั๊มแบบไหลแกน (axial) ถ้าความเร็วต่ำใช้ใบพัดแบบสกรู (inducer) การถอยหลังโดยการใช้แผ่นบังคับย้อนกลับ (reversing bucket)

การบังคับเลี้ยวใช้เป็นหัวครอบรอบหัวฉีด เพื่อที่จะเปลี่ยนเส้นทางการไหลของน้ำ ไปทางซ้ายและขวาได้ เทคนิคที่ได้รับการใช้ในเครื่องบินเจ็ตที่ขับเคลื่อนด้วยทหารหรือใช้กับเรือ ปั๊มเจ็ททำให้การขับเคลื่อนในทะเล มีความคล่องตัวสูง

Jet-skis pump

หัวพ่นที่ใช้ไอน้ำ อากาศ หรือก๊าซเป็นของไหลขับเคลื่อน

(Motive fluid) เรียกว่า injector หรือ ejector เช่น หัวพ่นไอน้ำ (steam ejector หรือ steam injector ) ถ้าใช้ไอน้ำความดันสูงใช้เป็นของไหลขับเคลื่อน และเพื่อดูดไอน้ำความดันต่ำมาผสม เรียกว่า thermocompressor ถ้าใช้ของเหลว เป็นของไหลขับเคลื่อน เรียกว่า eductor

หลักการของปั๊มชนิดนี้ ใช้หลักผลกระทบของเวนจูรี่

(Venturi effect) ที่เกิดจากความเร็วของของไหลที่ใช้ขับเคลื่อน ไหลผ่านออกจากหัวฉีด พลังงานความดันของของไหลขับเคลื่อนและเปลี่ยนเป็นพลังงาน

ความเร็ว และไหลผ่านไปยังห้องหัวฉีดที่เป็นแบบลู่เข้า-ถ่างออก (converging-diverging nozzle)

Jet eductor

ปั๊มปล่อยออกบางส่วน (partial emission : PE) เป็นชื่อที่บรรยายลักษณะการทำงานของปั๊มชนิดนี้ เนื่องจากมีปริมาตรเพียงเล็กน้อยที่ออกจากตัวปั๊มของแต่ละรอบหมุน ในแต่ละปั๊มแรงเหวี่ยงมาตรฐาน ทั้งความเร็วและพื้นที่การไหลของของเหลวที่ไหลเข้าใบพัด จะได้รับการออกแบบเพื่อให้ตรงกับประสิทธิภาพการไหลเวียนที่ดีที่สุดสำหรับจุดใช้งานของใบพัด ส่วนปั๊ม PE มีความโดดเด่นจากที่มีรัศมีใบพัดขนาดใหญ่ และทำมุม 90o กับแกนของการหมุน ปั๊มนี้ถูกออกแบบเพื่อให้มีอัตราการไหลต่ำ และมีหัวความดันสูงและมีค่าคงที่ตลอดทุกอัตราการไหลไม่มีผลต่อระยะห่างต่างๆ เช่นระยะห่างใบพัดที่เกิดจากการเสียดสีหรือสึกหรอก็ตาม ประสิทธิภาพของปั๊มจะไม่ค่อยเปลี่ยนแปลงมากนัก

Partial emission

ปั๊มวอร์เทกซ์ (ปั๊มชักนำกระแสน้ำวน) ใบพัดจะสร้างกระแสน้ำวนนี้จะเรียกว่าใบพัดน้ำวน

(Vortex impeller) โดยจะชักนำกระแสน้ำหมุนเวียนให้เป็นน้ำวน ที่มีลักษณะเป็นรูปกรวยเปิด และของเหลวจะถูกผลักออกผ่านเสื้อปั๊มออกไป ประโยชน์ของปั๊มวอร์เทกซ์ คือลดความเสี่ยงจากการอุดตัน และยังเป็นทางเลือกที่ดีสำหรับของเหลวมีสิ่งปนเปื้อนสูง เช่นน้ำในบ่อน้ำเสีย ข้อเสียคือประสิทธิภาพของปั๊มน้ำชนิดนี้จะต่ำกว่าปั๊มที่มี

ของเหลวไหลผ่านครีบใบทั่วไป

Induced vortex

ไฮดรอลิคแรม หรือ ไฮแรม (hydram) เป็นปั๊มน้ำที่ขับเคลื่อนเป็นวัฎฎจักรเกิดจากกำลังงานของพลังน้ำ

ที่ต้องการ "หัวไฮดรอลิค" (ความดันของน้ำ) อัตราการไหลของน้ำ และเกิดผลลัพท์ของหัวความดันทางไฮโดรลิคที่สูงขึ้น และอัตราการไหลของการนำไปใช้ที่ต่ำกว่า อุปกรณ์ทั้งหมดจะส่งผลให้เกิดการกระแทก (hammering) ส่งผลให้น้ำขาเข้าบางส่วน เกิดหัวความดันที่สูงกว่าความดันของน้ำ

ต้นทาง เดิมทีไฮดรอลิคแรมถูกนำไปใช้ในพื้นที่ที่ห่างไกล ที่มีทั้งแหล่งของพลังน้ำหัวความดันต่ำ และความจำเป็นในการสูบน้ำไปยังปลายทางที่มีระดับความสูงกว่า

แหล่งต้นทาง ในสถานการณ์เช่นนี้ ไฮดรอลิคแรมมักจะถูกนำมาใช้ เนื่องจากไม่ต้องการพลังงานขับเคลื่อนอื่นได นอกจากพลังงานจากการไหลของน้ำต้นทางเท่านั้น

Hydraulic ram

Rotary pump

ปั๊มประเภทโรตารี่ จะประกอบด้วย ครีบใบ, โรเตอร์ และเสื้อด้านใน โดยโรเตอร์จะเป็นตัวหมุนและพาครีบใบหมุนตามไปด้วย ดังนั้นจะทำให้เกิดโพรง (Cavity) หรือช่องว่างระหว่าง 3 สิ่งที่กล่าวแล้วข้างต้น เกิดความดันเป็นลบ (Negative) หรือเกิดความดันต่ำกว่าบรรยากาศ ทำให้ของเหลวไหลเข้ามาแทนที่ในช่องว่างนั้น ทำให้ความดันกลายเป็นบวก (Positive) จากนั้นของเหลวก็จะถูกปิดผนึก และถูกทำการเคลื่อนย้าย (ที่ปริมาตรคงที่) จนกระทั่งปริมาตรของของเหลวดังกล่าวถูกผลักออกจากไปครีบใบ ผ่านทางออกของปั๊มสู่แหล่งที่มีความดันสูงกว่าต่อไป

ปั๊มแบบเสื้อยืดหยุ่น (flexible-liner pump)โรเตอร์(ตัวขับ)ที่หมุนอยู่บนเพลาเยื้องศูนย์ ที่ติดตั้งอยู่ภายในท่อพลาสติกกลมหนาที่ยืดหยุ่นได้ (thermoplastic) โดยโรเตอร์และน้ำมันซิลิโคนที่มีความหนืด 1000 cSt. จะถูกขังอยู่ในห้องปิด โดยตัวโรเตอร์จะดันผนังของท่อติดแนบ(liner)กับผนังเสื้อปั๊มอยู่หนึ่งจุดเสมอ การทำงาน [1] เมื่อโรเตอร์หมุน(ทวนเข็มนาฬิกา) น้ำมันซิลิโคนจะถูกดันให้มาอยู่ในทิศทางตรงกันข้ามกับโรเตอร์ [2] เมื่อโรเตอร์ หมุนลงมาข้างล่างจะเกิดโพลงที่ภายนอก(ด้านซ้ายของโรเตอร์) ของเหลวจะไหลเข้ามาแทนที่ [3] ของเหลวจะไหลเข้ามากขึ้นขณะเดียวกัน(ด้านขวาของโรเตอร์)ก็ผลัก

ของเหลวออกพร้อมกัน จนของเหลวไหลออกหมด [4]

Flexible Member

ปั๊มแบบลูกสูบหมุนตามเส้นรอบวง ประกอบด้วยโรเตอร์ 2 ตัวที่หมุนไปพร้อมๆกันและทำมุมซึ่งกันและกัน 90o โดยใช้เกียร์ภายนอกช่วยทำให้โรเตอร์ทั้งสองไม่สัมผัสกัน

การทำงาน [1] ตัวโรเตอร์ตัวล่างหมุนทวนเข็มนาฬิกา ขณะที่ตัวโรเตอร์ตัวบนหมุนตามเข็ม โรเตอร์ทั้งสองหมุนแยกออกจากกัน ทำให้เกิดช่องว่าง (a) (ถ้าพิจารณาที่โรเตอร์ตัวล่าง) โรเตอร์จะกักของเหลว (b) ไว้ขณะเดียวกันก็จะพาของเหลวดังกล่าวมาที่ (c) ก่อนที่จะปล่อยของเหลวดังกล่าวมาที่ (d) ที่มีความดันสูง

Circumferential Pistons

ประกอบด้วยเกลียวที่ทำหน้าที่บีบอัด

และส่งถ่ายของเหลวดังรูปแสดงpump แบบเกลียวหนึ่งตัวสองตัวและสามตัว

Screw

ปั๊มแบบใบกวาด (vane pumps) สามารถนำไปใช้กับของเหลวที่มีความหนืดปานกลาง เช่น ก๊าซ LPG (โพรเพน), แอมโมเนีย, ตัวทำละลาย, แอลกอฮอล์, น้ำมันเชื้อเพลิง, น้ำมันเบนซิน และสารทำความเย็น เป็นต้น ปั๊มแบบใบกวาด จะไม่มีการใช้โลหะสัมผัสกับโลหะภายในตนเอง มีการชดเชยการสึกหรอของใบกวาด (กรณีไม่ใช่ของเหลวที่เป็นสารหล่อลื่น) ซึ่งช่วยให้ปั๊มยังคงรักษาประสิทธิภาพของการทำงานไว้ได้ สามารถใช้ได้กับความหนืดสูงถึง 500 cP/2300 SSU แม้ว่าปั๊มจะมีประสิทธิภาพลดลงอย่างรวดเร็วก็ตาม

Vane

ปั๊มลูกสูบ จะมรลูกสูบเคลื่อนที่ไปมาในกระบอก

สูบเพื่อสูบและส่งของเหลวเป็นจังหวะ

Piston

ประกอบด้วยเฟืองในโครงหุ้ม pumpโดยมีหลักกการทำงาน คือใช้การหมุนขบกันของเฟืองสูบของเหลวเข้ามาแล้วอัดของเหลวในช่องว่างระหว่างเฟืองจากนั้นจึงอัดของเหลวออกจากตัว pumpโดยสามารถแบ่งออกได้สอง

ประเภท

Gears

Lobes

ปั๊มกลีบลอนมีความคล้ายคลึงกับปั๊มเกียร์ภายนอก ที่ทำงานโดยที่ของเหลวจะไหลไปรอบ ๆ ระหว่างผนังด้านในของเสื้อปั๊มกับกลีบลอน ขณะเดียวกันกลีบลอนของปั๊มจะหมุนไปด้วนกันแต่ไม่สัมผัสกัน ซึ่งเป็นข้อแตกต่างจากปั๊มเกียร์ภายนอก การที่กลีบลอนไม่สัมผัสกันเกิดจากการขับเคลื่อนจากชุดเกียร์ขับที่อยู่ภายนอกตัวปั๊มนั่นเอง ขณะเดียวกันตลับลูกปืนที่ใช้หมุนชุดกลีบลอน ก็ตั้งอยู่ในกระปุกเกียร์ทำให้ชุดของลูกปืนจึงไม่แช่อยู่ในของเหลวที่ปั๊มขับเคลื่อนเลย แรงดันของปั๊มจะถูกจำกัด โดยระยะห่างของชุดลูกปืน และการโก่งของเพลา

ปั๊มแบบสูบชัก เป็นกลุ่มหนึ่งของปั๊มประเภทแทนที่บวก (Positive DisplacementPumps)เช่นเดียวกับปั๊มแบบโรตารี่ และเป็นประเภทของปั๊มที่นำมาใช้งานมากโดยใช้การเคลื่อนที่

ของลูกสูบจะทำให้ภายในห้องสูบมีแรงดันต่ำกว่าบรรยากาศ

ภายนอกเกิดแรง"ดูด"ทำให้ความดันบรรยากาศภายนอกผลัก

ดันน้ำขึ้นผ่านเช๊ควาล์วเข้ามาในห้องสูบและเกิดการผลักออก

ไปจากปั๊มที่ความดันสูงกว่า

Reciprocating Pumps

ปั๊มแบบลูกสูบเป็นประเภทของปั๊มที่

นำมาใช้งานมากที่สุดเช่นปั๊มน้ำบาดาล ภายในปั๊มชนิดนี้จะมีลูกสูบที่เคลื่อนที่

ไปมาภายในมีเช็ควาล์วตัวล่าง ตัวบนโดยวาล์วทั้งสองช่วยให้น้ำไหล

ผ่านในทิศทางเดียวเท่านั้น

Piston pump

ปั๊มท่อนสูบ (plunger pumps) เป็นปั๊มกลุ่มสูบชัก (reciprocating) ประเภทปั๊มแทนที่บวก โดยการใช้ท่อนสูบในการเคลื่อนย้ายของเหลวผ่าน

ห้องทรงกระบอก ปั๊มท่อนสูบจะทำงานโดยการขับเคลื่อนด้วย ไอน้ำ อากาศอัด หรือมอเตอร์ไฟฟ้า โดยมีการเคลื่อนตัวของลูกสูบทรงกระบอกผ่านการกันรั่วอย่างเรียบง่าย ที่เป็นลักษณะเด่นที่แตกต่างจากปั๊มลูกสูบ และยังช่วยให้การทำงานที่จะใช้ที่ความดันที่สูงกว่า

แบบลูกสูบอีกด้วย

Plunger pump

ปั๊มไดอะแฟรม หรือเรียกว่าปั๊มเมมเบรน เป็นปั๊มที่ใช้ไดอะแฟรมคู่ที่ใช้อากาศอัดในการทำงาน (Air Operated Double Diaphragm Pump :AODD) หรือเรียกว่าปั๊มไดอะแฟรมแบบนิวเมติก เป็นชนิดหนึ่งของปั๊มแทนที่บวก ที่ใช้การประสานการทำงานร่วมกันของไดอะแฟรม ยาง หรือเทอร์โมพลาสติก หรือเทฟลอน(teflon) และวาล์วที่เหมาะสมทั้งสองข้างของไดอะแฟรม (เช่น เช็ควาล์ววาล์วผีเสื้อ(butterfly), วาล์วแผ่นพนัง(flap) หรือวาล์วปิดรูปแบบอื่นๆ) ในการสูบปั๊มของเหลว

Diaphragm pump

symbol

Compressor

compressor

หน้าที่

เป็นเครื่องที่เพิ่มความดันของอากาศหรือก๊าซซึ่ง

ความดันขาเข้าของเครื่องอัดส่วนมากจะเป็นความดันบรรยากาศเครื่องอัดที่ได้รับความดันขาเข้าสูงกว่าความดันบรรยากาศเรียกว่าเครื่องเพิ่ม

ความดัน(BOOSTER)และเครื่องที่ดูดก๊าซที่

ความดันต่ำกว่าบรรยากาศไปปล่อยที

่ความดันบรรยากาศ เรียกว่าเครื่องดูด(VACUUM)

ประเภท compressor

ประเภท

1.Dynamic

-Centrifugal

-Axial

2.Positive Displacement

-Reciprocating

-Rotary

Centrifugal

Centrifugal

คุณสมบัติ

-การหมุนของใบพัดทำให้เกิดแรงเหวี่ยงทำให้

แก๊สมีความเร็วและความดันสูง

-สามารถใช้งานได้หลากหลาย

-มีขนาดตั้งแต่ 5 – 8,000 psi.

ส่วนประกอบ

Axial

Axial

คุณสมบัติ

-ทิศทางการไหลของแก๊สมีทิศเดียวกับเพลา

-สร้างได้ขนาดเล็กเท่านั้น 10 – 100 psi.

-อัตราการไหลสูง

-มีประสิทธิภาพสูง

ส่วนประกอบ

Reciprocating

-เครื่องอัดอากาศแบบลูกสูบ

-พลังงานขับด้วย เครื่องยนต์ , Motor

-ขับเพลาข้อเหวี่ยง พาก้านลูกสูบดึงลูกสูบเคลื่อนที่เป็น

จังหวะ ดูด - อัด

-อัดความดันได้สูงๆ ด้วยการเพิ่ม Stage

คุณสมบัติ

ส่วนประกอบ

หน้าที่ อัดและเพิ่มpressure ให้กับระบบส่วนประกอบ ลูกสูบ,

แหวนลูกสูบ, ก้านสูบ ทำจาก โลหะผสมเพื่อเพิ่มความแข็งแรง

ระหว่างส่งถ่ายแรง

Piston

เพลาข้อเหวี่ยง

ทำหน้าที่รับแรงกระทำที่ส่งมาจากแรงขับของ Motor โดยเปลี่ยนจากแรง

กำลังแนวราบ ให้เป็นแนวขึ้น-ลง ของลูกสูบเพื่ออัดPressureให้กับ

ระบบ

Crank shaft

กันไม่ให้ก๊าซที่ถูกอัดในกระบอกสูบรั่วเข้าไปในห้องเพลาข้อเหวี่ยงในจังหวะอัดและกันไม่ให้

อากาศที่อยู่ในห้องเพลาข้อเหวี่ยงรั่วเข้าไปใน

กระบอกสูบในจังหวะดูด

Piston Rod Packing

packing

ใน packing 1 set จะมี packing

ring อยู่ 3 ชนิด คือ

มีลักษณะการแบ่งตัดตรงตาม

แนวรัศมีมีหน้าที่ลดความดัน

ของแก๊สลง ช่วยให้ seal ring ไม่รับภาระแรงดันตกคร่อมมากจนเกินไป

Front ring

มีลักษณะการตัดแบ่งเป็นแนว

เฉียงทำหน้าที่เป็นตัวหลัก

ในการseal แก๊ส

Seal ring

มีลักษณะคล้ายกับ front ring

ทำหน้าที่เป็นตัวประคอง seal

ring ไมให้แอ่นตัวตามก้านสูบใน

ขณะใช้งาน และช่วยให้ seal ring

สามารถเคลื่อนตัวได้โดยง่ายเพราะ

ผิววัสดุมีความลื่น

Back-Up ring

รับแรงในแนวด้านข้าง ขณะลูกสูบทำงาน ขึ้น – ลง โดยด้านหนึ่ง ของ

crosshead จะต่อกับ piston Rod อีกด้านจะต่อกับก้านสูบ

Cross Head

ไปกด loading เพื่อให้ loading ไปกด suction valve เพื่อให้ check valveไม่เป็น check valve อยู่ เพื่อป้องกันเมื่อลูกสูบขับ จังหวะ ดูด และ อัดจะทำให้gasไหลวนกลับไปกลับมาจะทำให้

อุณหภูมิสูงขึ้น

Suction Valve

Unloaded

Rotary

คุณสมบัติ

1.Lobe(Root)มีลักษณะเป็นพูหมุนขบกันด้วย

ความเร็วเท่ากัน ทำให้เกิดแรงดัน

2.Vane มีใบพัดที่มีปลายเลื่อนได้ ติดอยู่กับ Rotor โดยที่แกน Rotor ติดตั้งเยื้องศูนย์ เมื่อช่อง Vane

หมุน จะดูดแก๊สเข้าเต็มช่วงแล้วหมุนต่อไปช่อง

Vaneจะถูกอัดให้เล็กลงจนกระทั่งหมุนไปถึงท่อ

ปล่อยแก๊สที่มีความดันสูง

3.Screw ช่อง Screw ประกบกันหมุนแล้วเกิดการ

ดูด – อัด แก๊สออกสู่ภายนอก

ส่วนประกอบ

-steam tubine

-gas tubine

turbine

gas tubine

คือ เครื่องจักรที่นำเอาพลังงานความร้อน มาเปลี่ยนเป็นพลังงานกล หรือ ไฟฟ้า

จัดอยู่ในประเภท COMBUSTION ENGINE

gas

tubine

COMBUSTION ENGINE มี 2 ประเภท

COMBUSTION

ENGINE

-EXTERNAL COMBUSTION ENGINE

-INTERNAL COMBUSTION ENGINE

คือ พลังงานความร้อนที่ได้จากการเผาไหม้ของเชื้อเพลิงถ่ายเทให้กับตัวกลาง เรียกว่า WORKING FLUID แล้วนำไปใช้งาน เช่นการให้ความร้อนกับน้ำใน BOILER

จนกลายเป็นไอ ไปใช้กับ STEAM TURBINE

EXTERNAL

คือ

พลังงานความร้อนที่เกิดจากการเผาไหม้ระหว่างอากาศ และ เชื้อเพลิงแล้วนำไปใช้โดยตรง

เช่น เครื่องยนต์ 2 หรือ 4 จังหวะ

INTERNAL

-COMPRESSOR

-COMBUSTOR

-TURBINE

ชิ้นส่วนหลัก

ทำหน้าที่ ดูดและอัดอากาศเพื่อใช้ในการเผาไหม้

COMPRESSOR

ทำหน้าที่ เป็นที่เผาไหม้ระหว่างอากาศที่ถูกอัดกับเชื้อเพลิง

COMBUSTOR

ทำหน้าที่ เปลี่ยนพลังงงานจากการเผาไหม้เป็นพลังงานจลด้วยการทำแบบ impulse turbine

TURBINE

-AIR CRAFT TYPE

-HEAVY DUTY TYPE

ประเภท

ใช้กับเครื่องบินไอพ่นทำหน้าที่หลักคือ สร้างแรงขับซึ่งจะต้องออกแบบให้มีน้ำหนักเบาและมีขนาดเล็ก

AIR CRAFT TYPE

มีข้อจำกัดในเรื่องของขนาดและน้ำหนัก ซึ่งจะต้องติดตั้งบนแท่น

HEAVY DUTY TYPE

มี 2 ลักษณะ คือ

- SINGLE SHAFT

-TWO SHAFT

SINGLE SHAFT

นิยมใช้งานในการผลิตกระแสไฟฟ้าในลักษณะ

-PEAK LOAD OPREATION

-STANDBY OPRREATION

-COMBINED CYCLE OPREATION

-co GENERATION OPREATION

คือ การเดินเครื่องในช่วงที่มีการใช้ไฟจำนวนมาก เมื่อผ่านช่วงนี้ไปแล้ว gas turbine จะหยุดเดินเครื่องซึ่งจำนวนครั้งในการเริ่มและหยุดจะมีค่าสูงส่งผลต่ออายุของ gas turbine

PEAK LOAD OPREATION

คือ การเดินเครื่องเพื่อจ่ายไฟสำรองในกรณีฉุกเฉินให้กับโรงไฟฟ้าพลังงานความร้อนที่มีขนาดใหญ่ ในกรณีฉุกเฉินดังกล่าว คืือการผลิตไฟฟ้ามาใช้แทนก่อน

STANDBY OPRREATION

คือ การนำเอาความร้อนที่ปล่อยผ่าน

gasturbineไปใช้งานในการต้มน้ำแล้วนำไอน้ำที่ได้ไปผลิตกระแสไฟฟ้า ซึ่งโดยทั่วไปจะให้กำลังผลิตไฟฟ้าเพิ่มขึ้นอีก 50

COMBINED CYCLE OPREATION

คือการนำความร้อนที่ปล่อยผ่าน gas turbine ไปใช้งานในการต้มน้ำเป็นไอ แล้วนำไอน้ำไปใช้ในกระบวนการผลิตอื่นๆ

GENERATION OPREATION

มีข้อดีคือ ประสิทธิภาพที่ Load ต่ำ สูงกว่าแบบ SINGLE- SHAFT

TWO SHAFT

Steam Turbine

steam tubine

หน้าที่ Steam Turbine (กังหันไอน้ำ) เป็นอุปกรณ์ที่เปลี่ยนพลังงานความร้อนเป็นพลังงานกล

หลักการ

ทำงาน

หลักการทำงานของ Steam Turbine

ไอน้ำที่มีอุณหภูมิและความดันสูงจาก

ท่อไอน้ำจะไหลเข้าสู้เครื่องกังหันไอน้ำผ่าน

ทางวาล์วของระบบ ควบคุม เพื่อควบคุมการไหลของไอน้ำที่จะ

ไปหมุนกังหันไอน้ำให้เหมาะสม กับความเร็วรอบหรือสภาวะที่ต้องการ

1. Casing

2. Rotor

3. Diaphragm

4. Gland Packing

5. Vapor Hood

ชิ้นส่วน

ภายใน

ชนิด

1.Back Pressure Turbine .

2.Condensing Turbine .

3.Extraction Turbine

- Extraction Condensing Turbine .

- Extraction Back Pressure Turbine

4. Mixing Turbine

- Mixing Condensing Turbine .

- Mixing Back Pressure Turbine

5. Extraction and Mixing Turbine

Back Pressure Turbine

Condensing Turbine

- Extraction Condensing Turbine .

- Extraction Back Pressure Turbine

Extraction Turbine

Mixing Turbine

p&id

จัดทำโดย

นาย ปัณณทัต ปัญญาเป็ง

เลขที่ 12 ปวส.1/2

รหัสประจำตัว 6231240035

แผนก ปิโตรเคมี วิทยาลัยเทคนิคระยอง

Storage Tank

storage tank

ในอุตสาหกรรมการผลิต storage tanks มีหน้าทีในการจัดเก็บวัตถุดิบ

ผลิตภัณฑ์เพื่อการขาย หรือสำรองปริมาณของ

intermediate stocks เพื่อการ

ส่งต่อไปยังกระบวนการผลิตขั้นต่อไป โดยมีการจัดเก็บในรูปของเหลว หรือของแข็ง ซึ่ง Storage tank มีรูปร่างหลายแบบ เช่น ทรงกลม (Sphere), ทรงกระบอก (Cone), ทรง cylindrical (Vertical,Horizontal)

Shut down Storage tank

จุดประสงค์ของการ Shutdown Storage tank สำหรับการตรวจสอบก็

เพื่อความปลอดภัย ในการใช้งานให้ได้ยาวนานและไม่เกิดเหตุอันตรายที่จะส่ง

ผลกระทบหรือเป็นสาเหตุก่อให้เกิดอันตรายต่อสิ่งแวดล้อมรอบข้าง เช่นชุมชน

จึงมีหลักเกณฑ์หรือข้อกำหนดที่ต้องทำการตรวจสอบดังต่อไปนี้

1. เพื่อทำ TANK CALIBRATE ตามวาระ 5 ปี

2. TANK INSPECTION ตามวาระ 15 ปี

3. เพื่อทำการปรับเปลี่ยน PRODUCT ภายในถัง

4. เพื่อทำการซ่อมแซมในกรณีที่ตรวจพบอุปกรณ์ชำรุดภายในถัง-ภายนอกถัง

5. ในกรณีที่ต้องมีการติดตั้งอุปกรณ์เพิ่มเติมภายในถัง-ภายนอกถัง

6. ถังมีการรั่วแตกร้าว ทรุด เอียงที่จะต้องทำการซ่อมแซม

การตัดระบบ (ISOLATION)

1. ตัดการจ่ายไฟฟ้ากับอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องกับถังผลิตภัณฑ์ ทุกตัว

2. แขวน TAG ISOLATION อุปกรณ์ทุกตัว

3. ตัดการจ่ายไฟฟ้า ให้กับวาล์วทุกตัวที่ใช้ MOTOR ในการเปิด–ปิด พร้อมแขวน TAG

4. ระบบน้ำดับเพลิง สายดับเพลิง และถังดับเพลิง ต้องพร้อมใช้งานบริเวณปฏิบัติงาน

จะแบ่งการซ่อมเป็น 2 ลักษณะ คือ Minor Repair และ Major Repair

ลักษณะการซ่อมแซมโดยทั่วไปของ Storage Tank

Major Repair

Major Repair จะหมายถึงการซ่อมที่จะต้อง Shutdown และ Clean ถังเพื่อทำการ

ซ่อม เช่น

-งานซ่อม Tank ที่เกิดการบุบยุบ (Damage) จากการใช้งานหรือ Fired Case

-การตัดเปลี่ยน Shell หรือเชื่อมซ่อม Patch plate จุดที่เกิดจาก Corrosion

จาก Product และ CUI

-การตัดเปลี่ยน Roof หรือเชื่อมซ่อม Patch plate จุดที่เกิดจาก CUI

-การตัดเปลี่ยน Annular/Bottom หรือเชื่อมซ่อม Patch plate จุดที่เกิดจาก

Corrosion ด้าน Product side และ Soil side

-การซ่อมและเปลี่ยน Part ต่างๆ ในช่วง Long term tank inspection

-การ Sandblast Shell, Roof, Annular/Bottom และทำสีใหม่

-การ Sandblast Shell, Roof, ทำสีและเปลี่ยน Insulation ใหม่

Minor Repair

Minor Repair หมายถึง การซ่อมแซมตามความเสียหายทั่วไป ซึ่งสามารถซ่อมแซม

ได้ในขณะที่ถังยังใช้งานอยู่ เช่น

-การซ่อมสีภายนอก Shell, Roof และ Accessories ที่เสื่อมสภาพ

-การซ่อม Shell and Roof Insulation ที่เสื่อมสภาพ และซ่อม CUI

-การซ่อม Leak ที่ Shell/Roof โดยการ Online Stop leak โดยการใช้

cement เหล็กอุดตามจุดที่เกิดการทะลุ จาก Corrosion

-การซ่อมจุด pitting ที่เกิด Corrosion โดยการขัดและทำสีใหม่

ความเป็นอันตรายของสารเคมี

ตามมาตรฐาน NFPA

แบ่งออกเป็น 4 ด้าน (แต่ละด้านมี 5 ระดับ) ดังนี้

-ความเป็นอันตรายต่อสุขภาพ (สีน้ำเงิน)

-ความไวไฟ (สีแดง)

-ความไวในปฏิกิริยา (สีเหลือง)

-ข้อมูลพิเศษ (สีขาว)

NFPA

4 ไวไฟมากที่สุด

-แก๊ส หรือของเหลวไวไฟมากที่สุด

3 ไวไฟมาก

-ของเหลวไวไฟที่มีจุดวาบไฟต่ำกว่า 100

องศา F

2 ไวไฟปานกลาง

-ของเหลวไวไฟที่มีจุดวาบไฟระหว่าง

100-200 องศา F

1 ไวไฟน้อย

-ติดไฟได้ถ้าได้รับความร้อน

0 ไม่ติดไฟ

-ไม่ติดไฟ

สีแดง

สีเหลือง

4 ระเบิดได้

-สารที่สามารถระเบิดได้ ณ อุณหภูมิปกติ

3 ความร้อนและแรงกระแทกอาจระเบิด

-อาจระเบิดถ้าเก็บในพื้นที่อากาศถ่ายเทไม่

สะดวก, ได้รับแรงกระแทก, ความร้อน

หรือทำปฏิกิริยากับน้ำ

2 ปฏิกิริยาเคมีรุนแรง

-ไม่เสถียร หรืออาจจะทำปฏิกิริยากับน้ำ

1 ไม่เสถียรถ้าโดนความร้อน

-อาจจะทำปฏิกิริยาเมื่อได้รับความร้อน

หรือสัมผัสกับน้ำ แต่ไม่รุนแรง

0 เสถียร

-ไม่เกิดปฏิกิริยา

สีขาว

W ห้ามผสมน้ำ

Acid กรด

Alk ด่าง

Cor กัดกร่อน

Oxy ออกซิไดซ์เซอร์

สีน้ำเงิน

4 อันตรายถึงตาย

-เป็นอันตรายถึงชีวิตเมื่อสัมผัสสารนั้น

ระยะเวลาสั้นๆ จำเป็นต้องได้รับการสวม

ใส่อุปกรณ์ PPE ที่เหมาะสม

3 อันตรายสูง

-มีฤทธิ์กัดกร่อน และเป็นพิษ หลีกเลี่ยงการ

สัมผัสกับผิวหนัง และสูดดม

2 อันตรายปานกลาง

-อาจจะเป็นอันตรายถ้าได้รับการสูดดม

หรือสัมผัส

1 อันตรายน้อย

-อาจระคายเคือง

0 ปลอดภัย

-ไม่มีอันตราย

แบ่งได้ 2 ประเภท

-Non-pressurized Storage Tanks

-Pressurized Storage Tanks

ประเภทของ Storage Tank

Pressurized Storage Tanks

เป็นถังที่ใช้เก็บสารที่ระเหยได้ดี ซึ่งอยู่ในสภาวะควบคุมแรงดันที่สูงกว่าความ

ดันบรรยากาศ เนื่องจากตัวถังทนแรงดันได้สูง แต่ถังจะมีขนาดเล็กกว่าแบบแรก

จึงทำให้จัดเก็บสารได้ในปริมาณที่น้อยกว่า สารที่มีการจัดเก็บในถังประเภทนี้

ได้แก่ ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม ปิโตรเคมีประเภทต่างๆ เช่น ปิโตรเลียมเหลว (LPG),

Liq.C2H4, Liq.C3H6, BDE ซึ่งมี 2 ชนิด

-(Low pressurized tank)

-(High pressurized tank)

High pressurized tank

เหมาะสำหรับเก็บผลิตภัณฑ์ที่มีความดันไอ (Vapor Pressure) มากกว่า15PSIจึงทำการออกแบบถังให้มีลักษณะเป็นถัง

ทนแรงดันสูงโดยมีลักษณะเป็นถังทรงกลม

(Spherical tank) ใช้เก็บผลิตภัณฑ์ก๊าซหุงต้ม

(LPG), Propane, Butene-1, BDE

มีลักษณะ

-ถังทรงกลม (Sphere tank)

- ถังทรงรูปไข่ (Spheroid tank)

Low pressurized tank

เหมาะสำหรับเก็บผลิตภัณฑ์ที่มีความดันไอ (Vapor Pressure) 11.1 –15 PSI จึงทำการออกแบบความหนาถังให้มีลักษณะ

เป็นถังทนแรงดันต่ำใช้เก็บLiq.C3H6(Semi)

มีลักษณะ

- Vertical Cylinder

- Horizontal Cylinder

Non-pressurized Storage Tanks

เป็นถังที่ใช้เก็บสารที่อยู่ในสภาวะควบคุมแรงดันได้ที่ไม่สูงมาก หรือใกล้เคียง

กับความดันบรรยากาศ เนื่องจากตัวถังทนแรงดันได้ไม่สูง แต่ถังมีขนาดใหญ่จึง

สามารถจัดเก็บสารได้ในปริมาณมาก สารที่มีการจัดเก็บในถังประเภทนี้ ได้แก่

ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม ปิโตรเคมีประเภทต่างๆ เช่น น้ำมันดิบน้ำมันสำเร็จรูป,

Solvent, Liq.C2H4, Liq.C3H6

Non-pressurized Storage Tanks

การแยกชนิดของ Non pressurized tanks

1. แบบหลังคาติดอยู่กับที่ (Fixed roof)

- Cone roof

- Dome roof

2. แบบหลังคาลอย (Floating roof)

- External Floating roof

- Internal Floating roof

Cone Roof, Dome Roof

Fixed roof

เหมาะสำหรับเก็บผลิตภัณฑ์ที่มีความดันไอ ( Vapor Pressure) ระหว่าง

0.0 - 0.75 PSI ซึ่งมีอัตราการระเหยได้ต่ำในอุณหภูมิปกติ

จึงทำการออกแบบถังให้มีลักษณะเป็นหลังคาติดตั้งอยู่กับที่ ถังประเภทนี้จะใช้เก็บวัตถุดิบสำหรับ

หน่วยผลิตและใช้เก็บผลิตภัณฑ์ (Finished Product) ที่พร้อมขาย เช่น

น้ำมันดีเซล (Diesel) , น้ำมันเตา (Fuel Oil) แต่สำหรับการจัดเก็บ Liq.C2H4,Liq.C3H6 , Liq.NH3 จะต้องมีระบบ refrigeration unit ในการควบคุมความดันในถังเพิ่มเติม

Floating roof tank

เหมาะสำหรับเก็บสารที่มีความดันไอ (Vapor Pressure) 0.75–11.1 PSI ซึ่ง

สามารถระเหยได้ดีในอุณหภูมิปกติ เพื่อลดการระเหยของไอน้ำมันจึงทำการออกแบบ

ถังให้มีลักษณะเป็นหลังคาลอยอยู่ที่ผิวหน้าของน้ำมัน ซึ่งน้ำหนักของหลังคาที่กด

ผิวน้ำมันจะลดอัตราการระเหยของน้ำมันได้ซึ่งสามารถ

แบ่งออกเป็น 2 แบบ ตาม

ลักษณะของหลังคาถัง คือ External floating roof tank และ Internal floatingroof tank

Floating roof

เป็นถังที่มีหลังคาแบบลอย โดยหลังคาจะลอยอยู่ที่ผิวหน้าของน้ำมันซึ่งทำหน้าที่

ลดอัตราการระเหยของน้ำมัน ถังประเภทนี้จะใช้เก็บวัตถุดิบที่มี Flash point < 55

degree C เช่น น้ำมันดิบ (Crude Oil) , Naphtha

Internal Floating roof

เป็นถังที่มีหลังคาแบบลอย โดยหลังคาจะลอยอยู่ที่ผิวหน้าของน้ำมันซึ่งทำหน้าที่

ลดอัตราการระเหยของน้ำมัน ถังประเภทนี้จะใช้เก็บวัตถุดิบที่มี Flash point < 55

degree C เช่น น้ำมันดิบ (Crude Oil) , Naphtha

External Floating roof

VESSEL

vessel

ถัง (Vessel) ใช้ในกระบวนการผลิต,

เพื่อเก็บบรรจุสิ่งของต่าง ๆ ในรูปแบบ

ของเหลว Gas หรือของแข็ง มีรูปทรง

ต่าง ๆ เช่น ทรงกลม, ทรงกระบอก หรือ

รูปสี่เหลี่ยม ขึ้นอยู่กับประเภทหรือ

ลักษณะการใช้งาน

-Pressurized Vessel

หรือเรียกว่า Closed tank ใช้กับความดันใน

การเก็บสูงกว่าความดันบรรยากาศ หรือใช้

กับความดันต่ำกว่าความดันบรรยากาศ

ใช้กับสาร, ของไหลที่อันตราย, เป็นพิษ,

ไวไฟหรือลุกติดไฟง่าย

-Non Pressure Vessel

หรือเรียกว่าOpentankความดันเท่ากับบรรยากาศ

(Atmosphericpressure)

ใช้กับสาร หรือของเหลวที่ไม่อันตราย ไม่เป็นพิษ

ใช้กับของเหลวปริมาณมาก ๆ

อาจจะมีลักษณะเป็นบ่อ (ponds) โลหะ หรือ คอนกรีต

แบ่งตามลักษณะความดันใช้งาน

แบ่งตามลักษณะของฝาถังที่ใช้

แบ่งตามลักษณะของฝาถังที่ใช้

-สร้างง่าย ราคาถูก

-รับแรงดันได้ไม่สูงมากนัก

-นิยมใช้กับถังขนาดเล็ก

Flat Plate

-ฝาถังปิดแบบโค้ง

-ใช้กับความดันไม่เกิน 15 bar

-รับแรงดันได้ค่อนข้างดี

Dished Head

-เป็นฝาถังรูปโค้งวงรี ทรงรูปไข่

-มีการกระจายแรงได้ดี

-ใช้งานได้ตั้งแต่ 10 bar ขึ้นไป

Ellipsoidal Head

-รับแรงดันได้ดีที่สุด

-รับแรงดันได้ ~ 2 เท่า ของแบบจาน

-ราคาแพง

Hemispherical Head

1. ฝาถังทรงกรวย (Conical Head)

-ฝารูปทรงกรวยปลายแหลม หรือปลายตัด

-ใช้กับถังประเภท Storage tank

-ใช้กับแรงดันต่ำๆ

2.ก้นถังทรงกรวย (Conical Bottom)

-ใช้กับประเภท Silo

-ใช้ในการการถ่ายเทของแข็ง,ผง

-ช่วยให้การไหลสม่ำเสมอขึ้น

Conical

Learn more about creating dynamic, engaging presentations with Prezi