Loading…
Transcript

หน่วยการเรียนรู้ที่ 3

อาหารประเภทสำรับ

สำรับ คือ

ภาชนะ เช่น ถาด เพื่อใช้ในการใส่

ถ้วยชาม พร้อมบรรจุอาหารคาว

หรือหวานเป็นชุด เช่น สำรับคาว สำรับหวาน เป็นต้น

ความหมายและความสำคัญ ของอาหาร ประเภทสำรับ

อาหารที่จัดเป็นชุด มีอาหารหลายอย่าง หลายรสชาติ หลายลักษณะ สามารถรับประทาน

ร่วมกันได้ รสชาติจะต้องไม่ขัดแย้งกัน โดยรวม

ต้องอร่อยเมื่อทานร่วมกัน

มักจัดในมื้อหลัก ได้แก่ เช้า กลางวัน และเย็น นิยมใส่ในถ้วย จาน ชาม ที่สวยงาม จากนั้น เมื่อจัด

เสร็จแล้วจะนำไปใส่ในสำรับ(ถาด โตก) แล้วแต่วัฒนธรรมท้องถิ่น

อาหารสำรับ

หมายถึง ?

1.

มีคุณค่าทางโภชนาการครบถ้วน เพราะประกอบไปด้วย

อาหาร 5 หมู่

2.

แสดงถึงเอกลักษณ์และวัฒนธรรมไทยจากการมีเครื่องเคียง

เครื่องแนม แกะสลักผัก และผลไม้เป็นภาชนะใส่อาหาร หรือ

ตกแต่งอาหารให้น่ารับประทาน

ความสำคัญ ของอาหาร ประเภทสำรับ

3.

สะดวกต่อการรับประทานและบริการอาหาร เพราะจัดใส่

ภาชนะที่เหมาะสม

4.

เหมาะสำหรับจัดเลี้ยงในโอกาสพิเศษ เพราะมีความประณีต

ในการจัดตกแต่งและบริการ

ชนิดของ

อาหารประเภทสำรับ

อาหารไทยมีหลากหลายชนิด มีเอกลักษณ์

แตกต่างกันไปในแต่ละภูมิภาค ตามสภาพ

ภูมิศาสตร์เศรษญกิจ สังคม ความเชื่อ และ

ขนบธรรมเนียมประเพณี แบ่งออกได้เป็น

2 ประเภท คือ

ชนิดของ

อาหารประเภทสำรับ

แกง

ผัด

อาหารคาว

ยำ

ทอด เผา ย่าง

อาหาร

ประเภทแกง

1.1 แกงเผ็ดไม่ใส่กะทิ

1.แกงเผ็ด

แกงไตปลา

ใช้น้ำพริกแกง ใส่ เครื่องเทศและใช้เนื้อสัตว์เป็นหลัก เมื่อแกง

แล้วจะมีมันลอยหน้า มี 2 ชนิดคือ

1.2 แกงเผ็ดใส่กะทิ

แกงไก่ใส่หน่อไม้

2.1 แกงคั่ว มี 2 รส คือ เค็มหวาน

แกงขี้เหล็ก

2.แกงคั่ว

ใช้น้ำพริกแกง ใส่กะทิ แต่พริกแกงไม่ใส่เครื่องเทศ ใช้ผักและเนื้อเป็นหลัก มี 2 ชนิดคือ

2.2 แกงคั่วส้ม มี 3 รส เปรี้ยว เค็ม หวาน

แกงเทโพ

ใช้น้ำพริกแกงแต่ไม่ใส่กะทิ ลักษณะออกสีส้ม มี 3 รสคือ เปรี้ยวนำเค็ม หวานเล็กน้อย มี 3 ชนิดคือ

3.แกงส้ม

3.3 แกงบอน

3.2 แกงส้มพริกแห้ง

3.1 แกงส้มพริกสด

ใช้พริกแกงเดียวกับแกงเผ็ด แต่เพิ่มเครื่องเทศเข้าไป ทำให้

แกงมี 3 รสมีมันลอยหน้าสีแดง

4.แกงมัสมั่น

แกงมัสมั่นเนื้อ

แกงมัสมั่นหมู

แกงมัสมั่นไก่

ใช้พริกแกงเดียวกับแกงเผ็ด แต่ลดพริกแห้งผิวมะกรูดและเพิ่ม

ผงกระหรี่เข้าไปแทน ทำให้มีรสเค็ม

หวาน เผ็ดไม่มาก

5.แกงกระหรี่

เป็นแกงที่เผ็ดร้อนด้วย พริกไทย นิยมทานร้อนๆ

6.แกงเลียง

เผ็ดร้อนด้วยพริกไทยและขิง มี 3 รส คือ เปรี้ยว เค็ม เผ็ด

7.ต้มส้ม

ปรุงให้มีรสชาติ เปรี้ยว เค็ม เผ็ด นิยมทานร้อนๆ

8.ต้มยำ

ต้มยำน้ำข้น

ต้มยำน้ำใส

มีน้ำเป็นส่วนประกอบมาก ต้องรับประทานร้อนๆ

9.แกงจืด

อาหาร

ประเภทผัด

1.ผัดจืด

ใช้ผักและเนื้อสัตว์ทุกชนิด ปรุงด้วยน้ำปลา

หรือซีอิ๊ว ตามใจชอบ

2.1 ผัดเผ็ดแบบใช้เครื่องแกง

2.ผัดเผ็ด

ใช้เนื้อสัตว์ทุกชนิด ผัดกับพริก มี 2 ชนิด

2.2 ผัดเผ็ดแบบใช้พริกสด

อาหาร

ประเภทยำ

1. ยำรสหวาน

2.ยำรสเปรี้ยว

2.2 พล่า

2.1 ยำที่ใช้เนื้อสัตว์สุก

อาหารประเภททอด เผา/ย่าง

อาหารหวาน

แป้งข้าวเจ้า

ขนมเปียกปูน

ลอดช่อง

แป้งข้าวเหนียว

แป้งสาลี

ขนมสาลี่

เค้กกล้วยหอม

แป้งมัน

แป้งถั่ว

ไข่

ผลไม้

วุ้น

อาหารสำรับ

4 ภาค

ภาคเหนือ

ทั่วไปจะนิยมทานข้าวเหนียว กับกับข้าวที่มีลักษณะแห้งๆ หรือน้ำพริก

1. แกงที่ใส่เครื่องแกง

อาหาร

ประเภทแกง

2. แกงที่ไม่ใส่เครื่องแกง

แกงผักกากจอ

อาหาร

ประเภทยำ/พล่า

อาหาร

ประเภท

เครื่องจิ้ม

อาหาร

ประเภทผัด

1. ผัดที่ไม่เผ็ด

2.ผัดรสเผ็ด

อาหารประเภทเครื่องเคียง/ของแนม

งบหมูปิ้ง

ข้าวแต๋น(นางเล็ด)

ของหวาน

ขนมจ๊อก(ขนมเทียน)

ภาคอีสาน

อาหารหลัก คือ ข้าวเหนียว

ส่วนใหญ่เป็นแกงไม่ใส่กะทิ

1. แกงที่ใส่เครื่องแกง

2. แกงที่ไม่ใส่เครื่องแกง

แกงหน่อไม้

อาหาร

ประเภทแกง

แกงอ่อม

แกงผักหวาน

อาหาร

ประเภทยำ

อาหารประเภทเครื่องจิ้ม

ได้แก่ น้ำพริก เรียกว่า แจ่ว

อาหาร

ประเภทปิ้ง ย่าง

เครื่องเคียง

หรือของแนม

อาหารหวาน

ภาคกลาง

อาหารหลัก คือ ข้าวเจ้า

มีชื่อเรียกตามเครื่องปรุงและการประกอบอาหาร

อาหาร

ประเภทแกง

อาหารประเภทเครื่องจิ้ม

ปรุงให้ได้รสเปรี้ยว เค็ม เผ็ด หวาน(เป็นบางโอกาส)

น้ำพริก

น้ำพริกกะปิ

น้ำพริกผัด

นำเนื้อสัตว์มาใช้เป็นเครื่องปรุงและต้องปรุงสุกก่อนเสริฟ

หลน

เครื่องจิ้ม

น้ำจิ้ม

เครื่องเคียง

หรือของแนม

น้ำปลาหวานทานคู่กับ

กุ้งเผา/ปลาดุกย่าง

น้ำพริกกะปิทานคู่กับ

ปลาทูทอดและกุ้งต้มเค็ม

อาหารหวาน

ภาคใต้

รสเผ็ดจัด นิยมทานข้าวเป็นอาหารหลัก

แกงหอยแคลงกับใบชะพลู

อาหาร

ประเภทแกง

ปลาต้มขมิ้น

ยำลูกมุด

อาหาร

ประเภทยำ

อาหารประเภท

เครื่องจิ้ม

น้ำพริก

น้ำพริกโจร/น้ำพริกเหยา

หลน

บูดูหลน

จิ้งจังหลน

เครื่องจิ้มทั่วไป

แกงพุงปลา

ขนมอาโป๊ง

ขนมเจาะหู

อาหารหวาน

ขนมโค

ขนมหัวล้าน

ขนมกอและ

ขนมกง

ขนมกรวย