Introducing 

Prezi AI.

Your new presentation assistant.

Refine, enhance, and tailor your content, source relevant images, and edit visuals quicker than ever before.

Loading content…
Transcript

โมเดลซิปปา

E

L

D

MO

หลักการ

หลักการ

หลักการจัดการเรียนการสอนแบบผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง :โมเดลซิปปา ( CIPPA Model ) หลักการจัดการเรียนการสอนโมเดลซิปปา เป็นหลักที่นำมาใช้จัดการเรียนการสอนแบบผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง เสนอแนวคิดโดยรองศาสตราจารย์ดร.ทิศนาแขมมณี อาจารย์ประจำภาควิชาประถมศึกษาคณะครุศาสตร์จุฬาลงกรณ์

มหาวิทยาลัยมีจุดเน้นที่การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้ผู้เรียนมี

ส่วนร่วมทั้งทางร่างกาย สติปัญญา สังคม และอารมณ์

หลักการจัดของโมเดลซิปปา มีองค์ประกอบที่สำคัญ 5 ประการ

องค์ประกอบ

โมเดลซิปปา ( CIPPA Model )

C

C มาจากคำว่า Construct หมายถึง การสร้างความรู้

I

I มาจากคำว่า Interaction หมายถึง การปฏิสัมพันธ์กับบุคคลและสิ่งแวดล้อมรอบตัว

P มาจากคำว่า Physical Participation หมายถึง การมีส่วนร่วมทางกาย

P

P มาจากคำว่า Physical Participation หมายถึง การมีส่วนร่วมทางกาย

P

P มาจากคำว่า Process Learning หมายถึง การเรียนรู้กระบวนการต่าง ๆ

A

A มาจากคำว่า Application หมายถึง การนำความรู้ที่ได้เรียนรู้ไปประยุกต์ใช้ในสถานการณ์ต่างๆ

ขั้นตอนการจัดกิจกรรม

โมเดลซิปปา ( CIPPA Model )

ขั้นตอน

1

1.ขั้นทบทวนความรู้เดิมเพื่อช่วยให้ผู้เรียนมีความพร้อมในการเชื่อมโยงความรู้

ใหม่กับความรู้เดิมของตนกิจกรรมในขั้นนี้ได้แก่การสนทนาซักถามให้ผู้เรียน

บอกสิ่งที่เคยเรียนรู้ การให้ผู้เรียนเล่าประสบการณ์เดิมหรือการให้ผู้เรียนแสดง โครงสร้างความรู้ ( Graphic Organizer ) เดิมของตน

2

2.ขั้นแสวงหาความรู้ใหม่เพื่อให้ผู้เรียนหาความรู้เพิ่มเติม

จากแหล่งความรู้ต่าง ๆ

3

3.ขั้นศึกษาทำความเข้าใจความรู้ใหม่และเชื่อมโยงความรู้ใหม่กับความรู้เดิมเพื่อ

ให้ผู้เรียนสร้างความหมายของข้อมูลหรือประสบการณ์ใหม่สรุปความเข้าใจแล้ว

เชื่อมโยงกับความรู้เดิมกิจกรรมในขั้นนี้ ได้แก่ การให้ผู้เรียนใช้กระบวนการต่างๆ ด้วยตนเองเช่นกระบวนการคิดกระบวนการกลุ่มหรือกระบวนการแก้ปัญหาสร้างความรู้ขึ้นมา

4

4.ขั้นแลกเปลี่ยนความรู้ความเข้าใจกับกลุ่มเพื่ออาศัยกลุ่มเป็นเครื่องมือ

ในการตรวจสอบความรู้ความเข้าใจและขยายความรู้ความเข้าใจของตน

ให้กว้างขึ้นกิจกรรมนี้ได้แก่การให้ผู้เรียนแต่ละคนแบ่งปันความรู้ความเข้าใจ

ให้ผู้อื่นรับรู้และให้กลุ่มช่วยกันตรวจสอบความรู้ความเข้าใจซึ่งกันและกัน

5

5.ขั้นสรุปและจัดระเบียบความรู้เพื่อให้ผู้เรียนจดจำสิ่งที่เรียนรู้ได้ง่ายกิจกรรมนี้ ได้แก่การให้ผู้เรียนสรุปประเด็นสำคัญประกอบด้วยมโนทัศน์หลักและมโนทัศน์ย่อยของความรู้ทั้งหมดทั้งความรู้เดิมและความรู้ใหม่แล้วนำมารวบรวมเรียบ

เรียงให้ได้ใจความสาระสำคัญครบถ้วนสะดวกแก่การจดจำ ครูอาจให้

6

6.ขั้นแสดงผลงานเพื่อให้โอกาสผู้เรียนได้ตรวจสอบความรู้ความเข้าใจของตน

ด้วยการได้รับข้อมูลย้อนกลับจากผู้อื่นกิจกรรมนี้ได้แก่การให้ผู้เรียนแสดงผลงาน

การสร้างความรู้ของตน ด้วยวิธีการต่างๆ เช่น จัดนิทรรศการ จัดการอภิปราย แสดงบทบาทสมมติ เขียนเรียงความ วาดภาพ แต่งคำประพันธ์ และอาจมีการจัดประเมินผลงานโดยใช้เกณฑ์ที่เหมาะสม

P มาจากคำว่า Physical Participation หมายถึง การมีส่วนร่วมทางกาย

7

7.ขั้นประยุกต์ใช้ความรู้เพื่อฝึกฝนให้ผู้เรียนนำความรู้ไปใช้ในสถานการณ์ต่าง ๆ ให้เกิดความเข้าใจ และความชำนาญ กิจกรรมนี้ได้แก่การที่ครูให้ผู้เรียนมีโอกาสแสดงวิธีใช้ความรู้ให้เป็นประโยชน์ในเรื่องต่างซึ่งเท่ากับส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความคิดสร้างสรรค์ในระยะแรกครูอาจตั้งโจทย์สถานการณ์ต่างๆแล้วให้ผู้เรียนนำความรู้ที่มีมาใช้ในสถานการณ์นั้นที่มา

Separated

Design Elements:

Customize and add your content

Learn more about creating dynamic, engaging presentations with Prezi