ศักย์ไฟฟ้า
คือ สถานะทางไฟฟ้า หรือ ระดับไฟฟ้าของวัตถุนั้น ที่แสดงให้
ทราบว่า เมื่อต่อวัตถุนั้นกับดิน แล้วอิเล็กตรอนจะเคลื่อนที่อย่างไร
ประจุไฟฟ้า (Q)
ความจุไฟฟ้า
ศักย์ไฟฟ้าที่จุดA คือ งานในการนำประจุ +1C จากระยะอนันต์ มาวางไว้ที่จุดA
ประจุไฟฟ้าเป็นปริมาณทางไฟฟ้าปริมาณหนึ่งที่กำหนดขึ้น มีหน่วยเป็น คูลอมบ์ (C)
ชนิดของประจุไฟฟ้ามี 2 ชนิดคือ
1. ประจุบวก (+) : ประจุบวกที่มีขนาดเล็กที่สุดคือโปรตอน
โดยปกติโปรตอนในของแข็งไม่เคลื่อนที่ ฉะนั้นประจุบวกถือว่าไม่เคลื่อนที่ในของแข็ง
2. ประจุลบ (-) : ประจุที่มีขนาดเล็กที่สุดคืออิเล็กตรอน
อิเล็กตรอนเป็นอนุภาคที่เคลื่อนที่ง่าย ในของแข็งอนุภาคไฟฟ้าที่เคลื่อนที่คือ อิเล็กตรอน
ตัวเก็บประจุ (Capacitor หรือ Condenser) คือ ตัวนำที่ท าหน้าที่ในการเก็บประจุในวงจรไฟฟ้า เวลา
ต่อตัวเก็บประจุในวงจรไฟฟ้าขาด้าน(+) ต่อกับศักย์ไฟฟ้าสูง ส่วนขาด้าน(-) ต่อกับศักย์ไฟฟ้าต่ำ ความสามารถ
ในการเก็บประจุของตัวเก็บประจุ เรียกว่า ความจุไฟฟ้า (Capacitance)
ความจุของตัวนำใดๆ คือ ปริมาณประจุไฟฟ้า ที่ทำให้ตัวนำมีค่าศักย์ไฟฟ้าเพิ่มขึ้นหรือลดลง 1 หน่วย
ตัวนำใดๆมีความจุไฟฟ้ามาก แสดงว่าจะต้องใช้ประจุไฟฟ้าจ านวนมาก จึงทำให้ศักย์ไฟฟ้าเพิ่มขึ้นแต่ตัวนำใดมี
ความจุไฟฟ้าน้อยเมื่อได้รับประจุไฟฟ้าเพียงเล็กน้อย ศักย์ไฟฟ้าก็จะเพิ่มขึ้นจากเดิมมาก
กฎของคูลอมบ์
พลังงานศักย์ไฟฟ้า (Electric Potential Energy)
แรงระหว่างประจุไฟฟ้าคู่หนึ่ง จะเป็นสัดส่วนโดยตรงกับผลคูณของประจุ แต่เป็นสัดส่วนผกผันกับกำลังสองของระยะทาง
ระหว่างประจุคู่นั้น
พลังงานศักย์ไฟฟ้า คือ พลังงานของประจุ q ขณะอยู่ ณ ตำแหน่งใดๆของสนามไฟฟ้า
ความต่างศักย์กับสนามไฟฟ้า
สนามไฟฟ้า (Electric Field)
C คือ ค่าความจุไฟฟ้าของตัวเก็บประจุ มีหน่วยเป็น ฟารัด (F)
Q คือ จ านวนประจุไฟฟ้าที่ตัวเก็บประจุ มีหน่วยเป็น คูลอมบ์ (C)
V คือ ความต่างศักย์ไฟฟ้าของตัวน า มีหน่วยเป็น โวลต์(V)
สนามไฟฟ้า (E) คือบริเวณโดยรอบประจุไฟฟ้า ที่ประจุไฟฟ้าส่งอำนาจไปถึง ซึ่งประจุไฟฟ้าที่ว่านี้จะ
ถือเป็น ประจุไฟฟ้าที่เป็นเจ้าของสนามไฟฟ้า
สนามไฟฟ้า บนความต่างศักย์ ที่ระยะห่าง d คือ
แรงบนประจุในสนามไฟฟ้า