การศึกษาถือ เป็นเครื่องมือสำคัญอันจะนำไปสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน โดยวิสัยทัศน์ของการศึกษาเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน คือโลกที่ทุกคนมีโอกาสที่จะได้รับประโยชน์จากการศึกษาที่มีคุณภาพ และเรียนรู้ค่านิยม พฤติกรรม วิถีชีวิตที่จำเป็นต่ออนาคตที่ยั่งยืน ในสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว ( UNESCO , 2006 )
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ซึ่งระบุว่า “การศึกษา" หมายถึง กระบวนการเรียนรู้เพื่อความเจริญงอกงามของบุคคล และสังคมโดยการถ่ายทอดความรู้ การฝึก การอบรม การสืบสานทางวัฒนธรรม การสร้างสรรค์จรรโลงความก้าวหน้าทางวิชาการ การสร้างองค์ความรู้อันเกิดจาก การจัดสภาพแวดล้อม สังคมการเรียนรู้และปัจจัยเกื้อหนุนให้บุคคลเรียนรู้ อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต
แผนการศึกษาแห่งชาติ (พ.ศ. 2545 – 2559 ) ที่กำหนดนโยบายโดยยึด “คน” เป็นศูนย์กลางของการพัฒนา อย่างรอบด้านและสมดุล
(สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา, 2552,หน้า 1)
สถาบันการจัดการนานาชาติ (International Institute for Management Development: IMD),
โครงการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Program for International Student Assessment: PISA), โครงการศึกษาแนวโน้มการศึกษาวิชาคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ระหว่างประเทศ (Trends in International Mathematics and Science Study: TIMSS)
พบว่า ความสามารถผู้เรียนอยู่ในกลุ่มต่ำ เมื่อเทียบกับเกณฑ์ หรือเมื่อเปรียบเทียบกับนานาประเทศ (อนุชา กอนพ่วง, 2555, หน้า 6)
ด้วยสภาพความยากลำบากในการเดินทางความกันดารในการอยู่อาศัย ภาษาที่เป็นปัญหาอุปสรรคต่อการจัดการเรียนรู้ ล้วนเป็นปัจจัยฉุดรั้ง ให้ครูจัดการเรียนรู้ให้นักเรียนพื้นที่สูงเป็นไปด้วยความยากลำบาก ดังนั้นเมื่อครูสอนในโรงเรียนพื้นที่สูงในถิ่นทุรกันดาร ได้ระยะหนึ่ง (4 ปี) ซึ่งเป็นช่วงที่ครูมีองค์ความรู้และทักษะการจัดการเรียนรู้สำหรับนักเรียนชาวเขาได้ดีระดับหนึ่งแล้ว ครูก็ครบวาระการย้ายที่ทำงานไปอยู่ที่เจริญได้ ครูส่วนใหญ่ซึ่งมีภูมิลำเนาต่างถิ่นก็จะย้ายออกจากโรงเรียนไปพร้อมกับองค์
ความรู้และทักษะที่มีอยู่และการส่งต่อองค์ความรู้ จากรุ่นสู่รุ่นยังไม่มีระบบที่ดี จึงยังคงเป็นหน้าที่ของครูใหม่คนต่อไป เริ่มมาเรียนรู้ใหม่ด้วยตนเอง
หลักการการบริหารผลการปฏิบัติงาน (Performance Management System: PMS) ซึ่งเป็นกระบวนการในการสร้างสภาพแวดล้อมและวิธีการในการทำงานที่สนับสนุนให้ ผู้ปฏิบัติงานสามารถปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด โดยมีเป้าหมายสำคัญ อยู่ที่ การสร้างผลผลิตและผลการปฏิบัติงานที่สูงขึ้น
คำถามการวิจัย
1. สภาพปัจจุบัน ของการใช้ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารผลการปฏิบัติงานของครู
โรงเรียนพื้นที่สูงในถิ่นทุรกันดาร เป็นอย่างไร
2. ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารผลการปฏิบัติงานของครูโรงเรียนพื้นที่สูงในถิ่นทุรกันดาร
ควรประกอบด้วยอะไรบ้าง
3. ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารผลการปฏิบัติงานของครูโรงเรียนพื้นที่สูงในถิ่นทุรกันดาร
มีประสิทธิภาพต่อการบริหารผลการปฏิบัติงานของครูในโรงเรียนพื้นที่สูงในถิ่นทุรกันดาร
หรือไม่ เพียงใด
วัตถุประสงค์ของการวิจัย
1. เพื่อศึกษาสภาพการใช้ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารผลการปฏิบัติงานของครู
โรงเรียนพื้นที่สูงในถิ่นทุรกันดาร
2. เพื่อศึกษาองค์ประกอบของ ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร
ผลการปฏิบัติงานของครู โรงเรียนพื้นที่สูงในถิ่นทุรกันดาร
3. เพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารผลการปฏิบัติงานของครู
โรงเรียนพื้นที่สูงในถิ่นทุรกันดาร
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
ด้านความรู้
1. ทราบถึงสภาพการใช้ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารผลการปฏิบัติงานของครู
โรงเรียนพื้นที่สูงในถิ่นทุรกันดาร
2. ทราบถึงองค์ประกอบของ ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารผลการปฏิบัติงานของครู
โรงเรียนพื้นที่สูงในถิ่นทุรกันดาร
3. ทราบถึงวิธีการบริหารผลการปฏิบัติงานของครู ด้วยระบบสารสนเทศ
ด้านการนำไปใช้
ครูและผู้บริหารโรงเรียนพื้นที่สูงในถิ่นทุรกันดาร สามารถนำระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร
ผลการปฏิบัติงานของครู ในด้าน
1. การวางแผน (Planning) เพื่อการบริหารผลการปฏิบัติงานของครู โรงเรียนพื้นที่สูงในถิ่นทุรกันดาร
มีประสิทธิภาพมากขึ้น
2. การติดตาม (Monitoring) ผลการปฏิบัติงานของครู โรงเรียนพื้นที่สูงในถิ่นทุรกันดาร
ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น
3. การพัฒนา(Developing) ครูโรงเรียนพื้นที่สูงในถิ่นทุรกันดาร ให้มีผลการปฏิบัติงานที่มี
ประสิทธิภาพมากขึ้น
4. การประเมินผล (Assessment) การปฏิบัติงานของครู โรงเรียนพื้นที่สูงในถิ่นทุรกันดาร
ได้อย่างมีประสิทธิภาพ สะดวก รวดเร็วมากขึ้น
5. การให้รางวัล (Reword) แก่ครู โรงเรียนพื้นที่สูงในถิ่นทุรกันดาร เป็นไปอย่างยุติธรรม เหมาะสม
กับผลการปฏิบัติงานของครูแต่ละคน
2. ขอบเขตด้านประชากร
ประชากรที่ใช้ในการศึกษาได้แก่ ผู้อำนวยการสถานศึกษา รองผู้อำนวยการสถานศึกษา ครูผู้รับผิดชอบงานวิชาการ และครูผู้สอน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานจำนวน 2,145 โรงเรียน ใน 21 จังหวัด 63 เขตพื้นที่การศึกษา ซึ่งมีจำนวน 4,302 คน (ข้อมูลจากระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารการศึกษา ของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน http://data.bopp-obec.info/emis/index.php เมื่อ 20 พฤศจิกายน 2558)
3. ขอบเขตด้านเวลา
ระยะเวลาในการศึกษาวิจัยครั้งนี้เริ่มตั้งแต่ เดือน พฤศจิกายน 2558 - กันยายน 2559 หรือ เริ่มต้นภาคเรียนที่ 2 /2558 ถึง สิ้นสุด ภาคเรียนที่ 2 /2560 (อ้างอิงตามการเปิด-ปิดภาคเรียนของโรงเรียนในสังกัดสำนักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน)
นิยามศัพท์เฉพาะ
การพัฒนาระบบสารสนเทศ หมายถึง กระบวนการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงการทำงาน
เพื่อให้ได้สารสนเทศ จากการทำงานในรูปแบบ
เอกสารไปเป็นการใช้ทำงานโดยใช้โปรแกรม
คอมพิวเตอร์ที่ทำงานบนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (Web Application) เพื่อให้ได้สารสนเทศที่ดีขึ้น ทั้งทางด้านคุณภาพ ปริมาณ ประหยัดเวลา และ ทรัพยากรในการทำงาน
ระบบสารสนเทศ หมายถึง โปรแกรมคอมพิวเตอร์
ในรูปแบบโปรแกรมประยุกต์ ที่ทำงาน บนเครือข่าย
อินเตอร์เน็ต (Web Application) หรือระบบเครือ
ข่ายท้องถิ่น(localhost) ประกอบด้วยขั้นตอนการ
บันทึกข้อมูลและการประมวลผลเป็นสารสนเทศ เพื่อถูกนำมาช่วยในการดำเนินงานขององค์การ
ให้บรรลุตามแผลกลยุทธ์
โรงเรียนพื้นที่สูงในถิ่นทุรกันดาร หมายถึง โรงเรียนในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานที่มีที่ตั้งอยู่ ในจังหวัดตามพระราชกฤษฎีกาการ จัดตั้งสถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง ได้แก่ 1.เชียงใหม่ 2.เชียงราย 3.แม่ฮ่องสอน 4.พะเยา 5.ลำพูน 6.แพร่ 7.น่าน 8.ลำปาง 9.ตาก 10.เพชรบูรณ์ 11.พิษณุโลก 12.เลย 13.สุโขทัย 14.กำแพงเพชร 15.กาญจนบุรี 16.อุทัยธานี 17.สุพรรณบุรี 18.ราชบุรี 19.ประจวบคีรีขันธ์ 20.เพชรบุรี 21.อุตรดิตถ์ และเป็นโรงเรียนตั้งอยู่ในหุบเขาระหว่างภูเขา ที่มีความสูงตั้งอยู่ในพื้นที่ที่มีความสูงกว่าความสูง
เฉลี่ยของจังหวัดที่ตั้ง หรือตั้งอยู่ในพื้นที่ที่มีความสูงกว่า ระดับน้ำทะเลห้าร้อยเมตรขึ้นไป
ซึ่งมีความยากลำบากในการจัดการศึกษา โดยพิจารณาจาก สภาพภูมิศาสตร์ ลักษณะการคมนาคม ความหลากหลายของชาติพันธุ์ ระบบสาธารณูปโภค และสภาพการจัดการศึกษา
ครูโรงเรียนพื้นที่สูงในถิ่นทุรกันดาร หมายถึง
ข้าราชการครูที่ปฏิบัติงานในโรงเรียนที่ เป็น โรงเรียนพื้นที่สูงในถิ่นทุรกันดาร และมีรายชื่อตามประกาศของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ประสิทธิภาพของระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารผลการปฏิบัติงานของครู โรงเรียนพื้นที่สูงในถิ่นทุรกันดาร หมายถึง ความรู้สึกนิยมชมชอบของ ผู้บริหาร คณะครู และคณะกรรมการสถานศึกษาที่มีต่อระบบสารสนเทศ เพื่อการบริหาร ผลการปฏิบัติงานของครู โรงเรียนพื้นที่สูงในถิ่นทุรกันดาร ใน 4 ประเด็น
1. ด้านการตรงตามความต้องการของผู้ใช้ระบบ (Functional Requirement Test)
2. ด้านการทำงานได้ตามฟังก์ชันงานของระบบ (Functional Test)
3. ด้านความง่ายต่อการใช้งานระบบ (Usability Test)
4. ด้านการรักษาความปลอดภัยของข้อมูลในระบบ (Security Test)
ประสิทธิภาพของระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารผลการปฏิบัติงานของครู
โรงเรียนพื้นที่สูงในถิ่นทุรกันดาร ประเมิน ใน 4 ประเด็น คือ
1. ด้านการตรงตามความต้องการของผู้ใช้ระบบ (Functional Requirement Test)
2. ด้านการทำงานได้ตามฟังก์ชันงานของระบบ (Functional Test)
3. ด้านความง่ายต่อการใช้งานระบบ (Usability Test)
4. ด้านการรักษาความปลอดภัยของข้อมูลในระบบ (Security Test)
1.1 ผลการศึกษาสภาพการบริหารผลการปฏิบัติงานครู
จากการศึกษาพบว่า
1.1.1 การจัดเก็บสารสนเทศ สภาพการบริหารผลการปฏิบัติงานของครูโรงเรียนพื้นที่สูงในถิ่นทุรกันดารส่วนใหญ่ยังจัดเก็บอยู่ในรูปแบบเอกสาร จัดเก็บเอกสารเป็นแฟ้มงานตามภารงานที่ตนเองรับผิดชอบ ส่วนงานสารบรรณ ส่วนใหญ่จัดเก็บไว้ที่ตนเองเฉพาะงานของตเองที่เกี่ยวข้อง มีบางโรงเรียนที่ใช้ระบบสารบรรณ อิเล็กทรอนิกส์ จึงจัดเก็บไว้ในระบบ เมื่อต้องการใช้ จึง print ออกมาใช้ตามโอกาส
1.1.2 การจัดแบ่งหมวดหมู่ พบว่า เนื่องจากส่วนใหญ่เริ่มบรรจุใหม่ จึงเก็บแฟ้มงานตามโครงสร้างการ ประเมินและพัฒนาอย่างเข้มของครูผู้ช่วย เป็นหลัก ในขณะที่ส่วนกลาง จะมีระบบสารสนเทศของโรงเรียนเพื่อการประกันคุณภาพภายใน ควบคุมอยู่ จึงจัดเก็บแยกตามหมวดหมู่ของงานประกันคุณภาพ
1.1.3 ผู้รับผิดชอบในการจัดเก็บระบบสารสนเทศ เนื่องจากมี 2 ส่วนที่เป็นงานส่วนตัวและส่วนรวม ในงานส่วนตัวนั้น ครูผู้เป็นเจ้าของผลงานจัดเก็บเอง และถือเป็นสิทธิ์ของครูที่จะนำติดตัวไปด้วยเมื่อย้ายที่ทำงาน ส่วนระบบงานประกันคุณภาพจะมีการมอบหมาย ให้ฝ่ายวิชาการ เป็นผู้รับผิดชอบจัดเก็บ
ขั้นตอนการบริหารผลการปฏิบัติงานครูโรงเรียนพื้นที่สูงในถิ่นทุรกันดาร มี 5 ขั้นตอน คือ
1.1 ขั้นตอนที่ 1 การวางแผนและกำหนดเป้าหมายผลการปฏิบัติงาน
1.2 ขั้นตอนที่ 2 การติดตามและทบทวนผลการปฏิบัติงาน
1.3 ขั้นตอนที่ 3 การพัฒนาผลการปฏิบัติงาน
1.4 ขั้นตอนที่ 4 การประเมินผลการปฏิบัติงาน
1.5 ขั้นตอนที่ 5 การให้รางวัลและโอกาส
3.4 ผลการประเมินประสิทธิภาพระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารผลการปฏิบัติงานของครู
โรงเรียนพื้นที่สูงในถิ่นทุรกันดาร ทั้ง 4 ด้าน พบว่า
1.ประสิทธิภาพด้านการตรงตามความต้องการของผู้ใช้ระบบ (Functional Requirement Test) อยู่ระดับ ดี
2.ประสิทธิภาพด้านการทำงานได้ตามฟังก์ชันงานของระบบ (Function Test) อยู่ระดับ ดี 3.ประสิทธิภาพด้านความง่ายต่อการใช้งานระบบ (Usability Test) อยู่ระดับ ดี 4.ประสิทธิภาพด้านการรักษาความปลอดภัยของข้อมูลในระบบ (Security Test) อยู่ระดับ ดี 5.ในภาพรวม สามารถนำระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารผลการปฏิบัติงานครูโรงเรียน
พื้นที่สูงในถิ่นทุรกันดารไปใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพในระดับดี
1. ผลการศึกษา ขั้นตอนการบริหารผลการปฏิบัติงานครูโรงเรียนพื้นที่สูง
ในถิ่นทุรกันดาร
สอดคล้องกับระบบการบริหารผลการปฏิบัติงาน (PMS: Performance Management) หากแต่ในภาพรวมยังไม่เป็นภาพตามกระบวนการบริหารผลการปฏิบัติงาน เช่น โรงเรียนกำหนดให้มีการจัดทำ ID Plan มี การเข้ารับการอบรม ตาม ID Plan
ควร“บันทึกผลครั้งเดียว ใช้ประกอบการประเมินได้ทุกแบบการประเมิน” และที่สำคัญมุ่งเน้นไปที่รายการตัวชี้วัดที่สอดคล้องกับการพัฒนาผู้เรียนเป็นสำคัญ
จากการศึกษาองค์ประกอบที่ 2 โรงเรียนพื้นที่สูงมีประเด็นที่น่าสนใจคือ
นอกจากการประเมินผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนตามสาระการเรียนรู้ทั้ง 8 กลุ่มสาระแล้ว โรงเรียนส่วนใหญ่ยัง เน้นไปที่การพัฒนาทักษะทางด้านอาชีพและทักษะชีวิตอีกด้วย
ในขณะที่ ด้านพฤติกรรมการปฏิบัติงานของครูนั้น ก็สอดคล้องกัน คือ ครูที่จะสามารถจัดการเรียนรู้ให้กับผู้เรียนในโรงเรียนพื้นที่สูงในถิ่นทุรกันดารได้ดี
ควรจะมีความรู้ ด้านการจัดการเรียนเพื่อการมีงานทำ(ด้านอาชีพ) ตลอดถึง ต้องเป็นครูที่มีความเข้าใจในธรรมชาติ ของประเพณีวัฒนธรรม ชาวเขาในท้องถิ่นด้วย และถ้าคุณครูสามารถสื่อสารด้วยภาษาชาวเขา
3.1 ผลการพัฒนาระบบสารสนเทศของระบบสารสนเทศเพื่อการ
บริหารผลการปฏิบัติงานของครูโรงเรียนพื้นที่สูงในถิ่นทุรกันดาร มีความคล้ายกันกับการศึกษาของ Mei Yean Ong และคณะ ที่ทำการศึกษาเกี่ยวกับศึกษาถึงการยอมรับของผู้ใช้ระบบสารสนเทศทั้ง
สองระบบในการบริหารผลการปฏิบัติงาน โดย
ระบบที่ 1 คือ ระบบ Excel สเปรดชีต (ESS) และ
ระบบที่ 2 คือ ระบบการตรวจสอบที่สำคัญดัชนีชี้วัด (KPI-MS) เป็นระบบที่ทำโดยกระทรวงอุดมศึกษาของ มาเลเซีย (Mohe) และได้รับให้นำมาใช้ตั้งแต่ปี 2008
การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารผลการปฏิบัติงาน
ครูในโรงเรียนพื้นที่สูงในถิ่นทุรกันดาร
โดยเฉพาะอย่างยิ่ง โรงเรียนที่อยู่ในพื้นที่สูง และถิ่นทุรกันดารส่วนใหญ่นักเรียนจะมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำ
ต้อนรับครูใหม่
2.95
ทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง
2.68
ความรู้ทักษะที่จำเป็นตามหลักสูตร
2.72
จากคะแนนเต็ม 5 คะแนน
การคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ คิดสร้างสรรค์และมีวิจารณญาณ
มฐ6.
เลี้ยงส่งครูเก่า
มฐ5.
มฐ4.
การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสอง ประจำปีงบประมาณ 2549–2551 ของสถานศึกษาในภาพรวมทั้งประเทศ
(สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา, 2552, หน้า 5 - 6)
ขอขอบพระคุณครับ
ซึ่งสอดคล้องกับผลการทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติขั้นพื้นฐาน (Ordinary National Education Test: O–NET) ในปีการศึกษา 2551 - 2555
อภิปรายผลการวิจัย
ข้อเสนอแนะ
1. ข้อเสนอแนะสาหรับการนาผลการวิจัยไปใช้
1. ทำการศึกษาหลักการบริหารผลการปฏิบัติงานให้เข้าใจก่อนนำระบบสารสนเทศ
ไปใช้เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดโดยเฉพาะหลักการที่เน้นไปที่กระบวนการพัฒนาครู
เพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงานของครูให้ส่งผลต่อภารกิจหลักคือการพัฒนาผู้เรียน และใช้การสื่อสารแบบสองทาง เพื่อทำความเข้าใจกับครูตลอดกระบวนการบริหาร
ผลการปฏิบัติงานด้วย
2. ในการนำองค์ประกอบที่ได้ไปใช้ในการสร้างเป็นระบบสารสนเทศออนไลน์ ควรทำการเชื่อมต่อกับระบบ Social network ที่เชื่อมต่อกับผู้คนทั่วไปด้วย เช่น Facebook, Line, Tweeter เป็นต้น
2. ข้อเสนอแนะเพื่อการทำวิจัยครั้งต่อไป
1. ควรพัฒนาต่อยอดให้ได้รายงานผลการปฏิบัติงานที่สอดคล้องกับการประกัน
คุณภาพภายใน , การรายงานผลเพื่อขอมีหรือเลื่อนวิทยฐานะ และรายงานเพื่อประเมินความดีความชอบปลายปีด้วย
2. ควรพัฒนาต่อยอดในระบบปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence) การให้คำปรึกษาอัตโนมัติด้านการจัดการาเรียนรู้
บทที่ 4
ผลการวิจัย
ตอนที่ 1 ผลการศึกษาสภาพการใช้ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารผลการปฏิบัติงานของครู โรงเรียนพื้นที่สูงในถิ่นทุรกันดาร
ผลการวิเคราะห์สภาพการใช้ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารผลการปฏิบัติงานของครู โรงเรียนพื้นที่สูงในถิ่นทุรกันดาร จากการศึกษาเอกสาร/งานวิจัย และ การสัมภาษณ์กลุ่ม (Group Interview)
1.1 ผลการศึกษาสภาพการบริหารผลการปฏิบัติงานครู
1.2 ผลการศึกษาขั้นตอนการบริหารผลการปฏิบัติงานครู
ตอนที่ 2 ผลการศึกษาองค์ประกอบของ ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารผลการปฏิบัติงานของครูโรงเรียนพื้นที่สูงในถิ่นทุรกันดาร
ผลการศึกษา ตัวชี้วัดการปฏิบัติงานของครูโรงเรียนพื้นที่สูงในถิ่นทุรกันดาร จาก พหุกรณีศึกษา (Multi – case studies) แบ่งออกเป็น 3 ด้านคือ
2.1 ด้านผลสำเร็จการปฏิบัติงานของครูโรงเรียนพื้นที่สูงในถิ่นทุรกันดาร
2.2 ด้านพฤติกรรมการปฏิบัติงานของครูโรงเรียนพื้นที่สูงในถิ่นทุรกันดาร
2.3 งานอื่นที่ได้รับมอบหมายจากผู้บังคับบัญชาในการปฏิบัติงานของครูโรงเรียนพื้นที่สูงในถิ่น
ทุรกันดารบทบาทหน้าที่ของผู้เกี่ยวข้องในระบบ
ตอนที่ 3ผลการพัฒนาและประเมินประสิทธิภาพของระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารผลการ
ปฏิบัติงานของครู โรงเรียนพื้นที่สูงในถิ่นทุรกันดาร แบ่งออกเป็น
3.1 ผลการสังเคราะห์องค์ประกอบระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารผลการปฏิบัติงานของครู โรงเรียนพื้นที่สูงในถิ่นทุรกันดาร
3.1.1 ขั้นตอนการทำงานในระบบสารสนเทศ (Procedure)
3.1.2 ข้อมูล (data)
3.1.3 สารสนเทศ (information)
3.2 ผลการพัฒนาระบบระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารผลการปฏิบัติงานของครูโรงเรียน
พื้นที่สูงในถิ่นทุรกันดาร ในรูปแบบ
3.2.1 แผนภูมิการไหล (Flow Chart)
3.2.2 แบบจำลองโครงสร้างฐานข้อมูล ( ER-Diagram)
3.2.3 แผนภาพกระแสข้อมูล (Data Flow Diagram) และ
3.2.4 พจนานุกรมข้อมูล (Data Dictionary)
3.3 ผลการประเมินประสิทธิภาพ ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารผลการปฏิบัติงานของครูโรงเรียนพื้นที่สูงในถิ่นทุรกันดาร
2. องค์ประกอบที่ 2 ผลการปฏิบัติงานของครูโรงเรียนพื้นที่สูงในถิ่นทุรกันดาร มีดังนี้
2.1 ด้านที่ 1 ผลสำเร็จการปฏิบัติงานของครู โรงเรียนพื้นที่สูงในถิ่นทุรกันดาร
2.1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามสาระการเรียนรู้ 8
2.2.2 ผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
2.2.3 ผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
2.2.4 ผลการประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
2.2.3 ผลการประเมินกิจกรรมการเรียนรู้ด้านทักษะชีวิต
2.2.4 ผลการประเมินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ด้านทักษะอาชีพ
2.2.5 ผลการประเมินความสำเร็จของโครงการตามแผนปฏิบัติการ
2.2 ด้านที่ 2 พฤติกรรมการปฏิบัติงานของครู โรงเรียนพื้นที่สูงในถิ่นทุรกันดาร
2.2.1 การจัดการเรียนรู้
2.2.2 การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้
2.2.3 การจัดทำหรือพัฒนาแผนการเรียนรู้
2.2.4 การสร้างและหรือการพัฒนาหลักสูตร
2.2.5 การพัฒนาผู้เรียนคุณภาพของผู้เรียน
2.2.6 การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
2.2.7 การบริหารจัดการชั้นเรียน
2.2.8 ทำงานร่วมกับชุมชน
2.2.9 การพัฒนาตนเอง และ วินัย คุณธรรม จริยธรรมสำหรับข้าราชการครู
2.2.10 การจัดการเรียนรู้สำหรับผู้เรียนที่ไม่ใช้ภาษาไทยเป็นภาษาแม่
2.2.11 การจัดการเรียนรู้อาชีพเพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนได้มีพื้นฐานในการ
ประกอบอาชีพ
2.3 งานอื่นที่ได้รับมอบหมายจากผู้บังคับบัญชาในการปฏิบัติงานของครูโรงเรียน
พื้นที่สูงในถิ่นทุรกันดาร
2.3.1 งานพิเศษตามโครงสร้างการบริหารในสถานศึกษา
2.3.2 งานธุรการที่ต่อเนื่องจากระบบงานสารบรรณ
2.3.3 งานที่ผู้บริหารมอบหมายอื่น
2.3.4 การมาปฏิบัติราชการทั้งในเวลาราชการและนอกเวลาราชการ
2.3.5 การปฏิบัติหน้าที่สอนแทนครูที่ลาหรือครูที่ไปราชการ
3. ผลการสังเคราะห์ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารผลการปฏิบัติงานของครูโรงเรียนพื้นที่สูงในถิ่นทุรกันดาร
3.1 ขั้นตอนการดำเนินงาน (Procedure) มี 25 ขั้นตอน คือ
1. กำหนดข้อมูลพื้นฐาน
2. บันทึกโครงการ
3. บันทึก ID Plan
4. บันทึกแผนการสอน
5. บันทึกงานสารบรรณ
6. บันทึกกำหนดการส่งงาน
7. กำหนดเป้าหมายร่วมกัน
8. อนุมัติให้ดำเนินโครงการ
9. ติดตามสถานะการดำเนินโครงการ
10. อนุมัติ ID Plan
11. ตรวจบันทึกแผนการสอน
12. บันทึกหลังการสอน
13. เกษียนหนังสือสั่งการ
14. แจ้งหนังสือราชการ
15. ติดตามเรื่องเวลาการมาปฏิบัติงาน
16. บันทึกการนิเทศ
17. บันทึกการการสอนงาน Coaching
18. บันทึก PLC
19. บันทึกการไปอบรม
20. บันทึกการไปศึกษาดูงาน
21. ประเมิน ID Plan
22. ประเมินแผนการสอน
23. ประเมินงานสารบรรณ
24. ประเมินการทำงานตามคำสั่ง(รายชิ้น)
25. รายงานผลงานประจำปี (รายคน/รายโรงเรียน)
3.2 ข้อมูล (Data) ของระบบ 32 รายการ
1. ข้อมูลโรงเรียน
2. ข้อมูลครู
3. ข้อมูลประเภทโครงการ
4. ข้อมูลสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
5. ข้อมูลประเภทงาน
6. ข้อมูลงานย่อย
7. ข้อมูลชื่อวิชา
8. ข้อมูลมาตรฐาน
9. ข้อมูลตัวชี้วัด
10. ข้อมูลระดับชั้นเรียน
11. ข้อมูลตำบล/อำเภอ/จังหวัด
12. ข้อมูลแผนยุทธศาสตร์ชาติ/แผนยุทธศาสตร์โรงเรียน
13. ข้อมูลสถานะโครงการ
14. โครงการ
15. ข้อมูล ID Plan
16. ข้อมูลการสอนรายวิชา
17. ข้อมูลทะเบียนหนังสือรับ
18. ข้อมูลทะเบียนหนังสือส่ง
19. ข้อมูลตารางกำหนดการส่งงาน
20. ข้อมูลการกำหนดเป้าหมาย
21. ข้อมูลโครงการ
22. ข้อมูล ID Plan
23. ข้อมูลแผนการสอน
24. ข้อมูลหนังสือภายนอก
25. ข้อมูลหนังสือภายใน
26. ข้อมูลการมาปฏิบัติราชการ
27. ข้อมูลการลา
28. ข้อมูลการนิเทศ
29. ข้อมูลการ Coaching
30. ข้อมูลการทำ PLC
31. ข้อมูลการไปอบรม
32. ข้อมูลการไปศึกษาดูงาน
3.3 สารสนเทศ (Information) ที่ได้จากระบบมี 56 รายการ
1. ปฏิทิน Calendar การดำเนินงาน
2. แผนภูมิ Gantt chart ติดตามความก้าวหน้าโครงการ
3. กราฟแสดงสัดส่วนงบประมาณในโครงการ
4. ระบบเตือนผู้ดำเนินโครงการให้เตรียมการดำเนินโครงการตามแผนทาง ไลน์แอพพลิเคชั่น
5. ระบบเตือนการตรวจสอบโครงการแล้วแจ้งต่อผู้บริหารด้วยสถานะ ของสี คือ
6. แผนภูมิ Gantt chart ติดตามความก้าวหน้ากิจกรรมพัฒนาตนเองของครู
7. ปฏิทิน Calendar พัฒนาตนเองของครู
8. ปฏิทิน Calendar ติดตามงานอื่น ๆ ที่ผู้บริหารมอบหมาย
9. กราฟแสดงร้อยละของครูที่จัดทำแผนการสอน
10.กราฟแสดงร้อยละของแผนการสอนที่มีลักษณะเป็น Active Learning/Passive Learning -แยกตามครูผู้บันทึกแผนฯ
11. กราฟแสดงข้อมูลการรับ / ส่งหนังสือราชการต่อวัน
12. กราฟแสดงจำนวน/ร้อยละของหนังสือราชการในแต่ละวัน แยกตามรายชื่อครู
13. กราฟแสดงร้อยละของหนังสือราชการที่ครูดำเนินการสำเร็จ/ไม่สำเร็จตามเวลา
14. รายชื่อหนังสือราชการที่มีความสำคัญต่อสถานศึกษา
15. แผนภูมิวงกลมแสดงตามรายคน
16. แผนภูมิวงกลมแสดงตามรายโรงเรียน
17. ตาราง/กราฟแสดงจำนวนร้อยละของประเภท และ เป้าหมายความสำเร็จ รายบุคคล และรายโรงเรียน
18. ยอดงบประมาณที่อนุมัติ แยกตามรายบุคคล/แยกตามรายประเภทของเงิน/แยกตามยุทธศาสตร์/แยกตามตัวชี้วัด
19. สัดส่วนงบประมาณ ต่อจำนวนนักเรียน /แยกตามรายโครงการ /แยกตามยุทธศาสตร์/แยกตามตัวชี้วัด
20. ร้อยละการดำเนินโครงการ แบ่งกลุ่มตาม สถานะของโครงการ
21. กราฟเรียงลำดับ ตามสัดส่วนงบประมาณต่อรายหัวจำนวนนักเรียน(นักเรียนคนละกี่บาท) จากมากไปหาน้อย
22. รายงานข้อมูลโครงการที่ดำเนินการเสร็จสิ้น
23. รายงานข้อมูลโครงการที่อยู่ระหว่างการดำเนินการ
24. รายงานข้อมูลโครงการที่ยังไม่ดำเนินการ
25. รายงานโครงการตามผลการประเมินโครงการ (ความพึงพอใจ 5 ระดับตามแนวคิด (IPO : Input Process Output)
26. ร้อยละการอนุมัติ ID Plan
27. ร้อยละของการพัฒนาตนเองที่เป็นไปตามแผน
28. ร้อยละของการพัฒนาตนเองที่ไม่เป็นไปตามแผน
29. รายงานจำนวน/ร้อยละแยกตามกลุ่มสมรรถนะที่ครูต้องการพัฒนา
30. รายงานจำนวน/ร้อยละแยกตาม รายวิชา/แยกตามผู้เขียนแผน
31. รายงานจำนวน/ร้อยละแยกตาม ที่ตรวจแผนแล้ว/ยังไม่ตรวจแผนแยกตามผู้เขียนแผนและรายโรงเรียน
32. รายงานร้อยละการรับทราบและดำเนินการตามหนังสือ
33.รายงาน จำนวน/ร้อยละ แยกตามผลการดำเนินการตามหนังสือและสถานะการดำเนินการ ตามรยคน และ รายโรงเรียน
34. รายงานร้อยละการรับทราบและดำเนินการตามหนังสือที่ ผ.อ.มอบหมาย
35. รายงาน จำนวน/ร้อยละ แยกตามผลการดำเนินการตามหนังสือที่ ผ.อ.มอบหมายและสถานะการดำเนินการ ตามรยคน และ รายโรงเรียน
36. สถิติการมาปฏิบัติราชการ มา/มาสาย ลากิจ/ลาป่วย/ไปรายการ แยกรายคน รายเดือน รายปี
37. สถิติจำนวน/ร้อยละ การนิเทศ
38. รายงานผลการนิเทศ
39. รายงานผลการดำเนินการตามข้อนิเทศ
40. สถิติความพึงพอใจต่อการนิเทศ
41. สถิติจำนวน/ร้อยละ Coaching
42. รายงานผลการสอนงาน Coaching
43. รายงานผลการดำเนินการตามข้อ Coaching
44. สถิติความพึงพอใจต่อการ Coaching
45. สถิติจำนวน/ร้อยละ PLC
46. รายงานผลกิจกรรม PLC
47. รายงานผลการดำเนินการตามข้อ PLC
48. สถิติความพึงพอใจต่อการ PLC
49. รายงานจำนวน/ร้อยละการไปอบรม แยกตามข้อมูลรายคน รายโรงเรียน/แยกตามสมรรถนะ
50. รายงานจำนวน/ร้อยละการไปศึกษาดูงาน แยกตามข้อมูลรายคน รายโรงเรียน/แยกตามสมรรถนะ /แยกตาพื้นที่การศึกษาดูงาน ภายในจังหวัด/นอกจังหวัด/ในเขตฯ/นอกเขต
51. กราฟแสดงร้อยละผลการพัฒนาที่ดี/ไม่ดี ตามการประเมิน Rating scale 5 level
52. กราฟแสดงร้อยละแผนการสอนที่ดี/ไม่ดี ตามการประเมิน Rating scale 5 level
53. กราฟแสดงร้อยละประเมินงานสารบรรณ ที่ดี/ไม่ดี ตามการประเมิน Rating scale 5 level
54. กราฟแสดงร้อยละประเมินงานทำงานตามคำสั่ง ที่ดี/ไม่ดี ตามการประเมิน Rating scale 5 level
55. รายงานผลการประเมินในทุกรายการ เรียงลำดับจากมาก-ไปหาน้อย แยะตาม/สมรรถนะ/ผลสำเร็จของงาน/คำสั่งของผู้อำนวยการ
56. รายงานผลการปฏิบัติงานประจำปี
กรอบแนวการตั้งคำถาม
แบบสัมภาษณ์
4 ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารผลการปฏิบัติงานของครู
สมรรถนะครูทั่วไป
นำเสนอผลการสังเคราะห์ 4 รูปแบบ
1.แผนภูมิการไหล (Flow Chart)
2.แบบจำลองโครงสร้างฐานข้อมูล ( ER-Diagram)
3.แผนภาพกระแสข้อมูล (Data Flow Diagram)
4.พจนานุกรมข้อมูล (Data Dictionary)
1. ปฏิบัติกิจกรรมทางวิชาการเกี่ยวกับการพัฒนาวิชาชีพครูอยู่เสมอ
2. ปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ โดยคำนึงถึงผลที่จะเกิดกับผู้เรียน
3. มุ่งมั่นพัฒนาผู้เรียนให้เต็มตามศักยภาพ
4. พัฒนาแผนการสอนให้สามารถปฏิบัติให้เกิดผลจริง
5. พัฒนาสื่อช่วยสอนให้มีประสิทธิภาพอยู่เสมอ
6. จัดกิจกรรมการเรียนการสอน โดยเน้นผลถาวรที่เกิดแก่ผู้เรียน
7. รายงานผลการพัฒนาคุณภาพนักเรียนได้อย่างมีระบบ
8. ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดีแก่นักเรียน
9. ร่วมมือกับผู้อื่นในสถานศึกษาอย่างสร้างสรรค์
10. ร่วมมือกับผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์ในชุมชน
11. แสวงหาและใช้ข้อมูลข่าวสารในการพัฒนา
12. สร้างโอกาสให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ในทุกสถานการณ์
ที่ตั้งโรงเรียนพื้นที่สูง
ส่วนใหญ่สูงกว่า 500 เมตรขึ้นไป ที่สูงที่สุด 1,820 เมตร จากระดับน้ำทะเล ระดับความสูงของที่ตั้งยังต่อหลายเรื่อง เช่น ส่งผลต่อความยากลำบากของเส้นทาง
โรงเรียนพื้นที่สูงในถิ่นทุรกันดาร
1.บริบทของโรงเรียนในเขตพื้นที่สูง
1.1 ความหมาย
บทที่ 3
วิธีดำเนินการวิจัย
1.2 การเดินทาง
1.3 ที่ตั้งและระดับความสูงของโรงเรียน
โรงเรียนพื้นที่สูงในถิ่นทุรกันดาร หมายถึง โรงเรียนในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานที่มีที่ตั้งอยู่ ในจังหวัดตามพระราชกฤษฎีกาการจัดตั้งสถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง ได้แก่ 1.เชียงใหม่ 2.เชียงราย 3.แม่ฮ่องสอน 4.พะเยา 5.ลำพูน 6.แพร่ 7.น่าน 8.ลำปาง 9.ตาก 10.เพชรบูรณ์ 11.พิษณุโลก 12.เลย 13.สุโขทัย 14.กำแพงเพชร 15.กาญจนบุรี 16.อุทัยธานี 17.สุพรรณบุรี 18.ราชบุรี 19.ประจวบคีรีขันธ์ 20.เพชรบุรี 21.อุตรดิตถ์ และเป็นโรงเรียนตั้งอยู่ในหุบเขาระหว่างภูเขา ที่มีความสูงตั้งอยู่ในพื้นที่ที่มีความสูงกว่าความสูงเฉลี่ยของจังหวัดที่ตั้ง หรือตั้งอยู่ในพื้นที่ที่มีความสูงกว่าระดับน้ำทะเลห้าร้อยเมตรขึ้นไป ซึ่งมีความยากลำบากในการจัดการศึกษา โดยพิจารณาจาก สภาพภูมิศาสตร์ ลักษณะการคมนาคม ความหลากหลายของชาติพันธุ์ ระบบสาธารณูปโภค และสภาพการจัดการศึกษา
โรงเรียนพื้นที่สูงในถิ่นทุรกันดาร
2. การสืบสายเผ่าพันธุ์ของกลุ่มคนชุมชนพื้นที่สูงในประเทศไทย
กระบวนการบริหารผลการปฏิบัติงาน
สุบัน พรเวียงและคณะ(2559) กล่าวว่า สมรรถนะที่จำเป็นสำหรับครูโรงเรียนพื้นที่สูงในถิ่นทุรกันดาร
ที่ควรได้รับการพัฒนาได้แก่
6.1 สมรรถนะด้านความรู้ ความสามารถและทักษะการปฏิบัติงาน
- หลักสูตรและบริหารงานหลักสูตร
- กระบวนการจัดการเรียนรู้
- การวัดและประเมินผล
- ทักษะการปฏิบัติงาน 4 ฝ่าย (วิชาการ งบประมาณ บุคคล บริหารทั่วไป)
6.2 สมรรถนะด้านการดำรงชีวิตของครู
- สมรรถนะการอยู่อย่างพอเพียงเลี้ยงตนได้ (ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
(งานเกษตร)
- สมรรถนะการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า (ภัยพิบัติทางธรรมชาติ, อุบัติเหตุ, อุบัติภัย)
- สมรรถนะดำรงชีวิตในสภาพจริงของการปฏิบัติงาน (การประกอบอาหาร,
การขับขี่รถจักรยานยนต์, การพันโซ่รถจักรยานยนต์, รถยนต์, การขับรถยนต์ขับเคลื่อน 4 ล้อ ฯลฯ)
- สมรรถนะการเรียนรู้การปฐมพยาบาลเบื้องต้น (ยาสามัญประจำบ้าน,
การป้องกันโรคระบาด ฯลฯ)
- สมรรถนะการเรียนรู้ภาษา วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณีของท้องถิ่น
- สมรรถนะการจัดการภาวะโภชนาการของนักเรียนเขตพื้นที่สูง
- สมรรถนะทางช่าง (ไฟฟ้า, ประปา, ก่อสร้าง,เครื่องยนต์, อิเล็กทรอนิกส์ ฯลฯ)
6.3 สมรรถนะวิชาชีพของครูในเขตพื้นที่สูง
- การออกแบบการเรียนรู้
- การพัฒนาผู้เรียนบนพื้นที่สูง
- การบริหารจัดการชั้นเรียน
6.4 สมรรถนะการสร้างเครือข่ายของครู
- การสร้างค่านิยมร่วม
- การส่งเสริมความร่วมมือ
- การแลกเปลี่ยนเรียนรู้
- กระบวนการทำงานกลุ่ม
บทที่ 2
แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
1 แนวคิดเกี่ยวกับการออกแบบการวิจัยและพัฒนา
2 โรงเรียนพื้นที่สูงในถิ่นทุรกันดาร
3 การบริหารผลการปฏิบัติงานของครู
4 ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารผลการปฏิบัติงานของครู
แนวคิดเกี่ยวกับการออกแบบการวิจัยและพัฒนา
ระบบพัฒนาครูให้เก่งเพื่อจะได้สอนเด็กให้เก่งขึ้น
ขอบเขตการวิจัย
1. ขอบเขตด้านเนื้อหา
การพัฒนาระบบสารสนเทศเชิงกลยุทธ์เพื่อการบริหารผลการปฏิบัติงานของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา มีเนื้อหาการศึกษาดังนี้
1. สภาพการใช้ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารผลการปฏิบัติงานของครู
โรงเรียนพื้นที่สูงในถิ่นทุรกันดาร
1.1 สภาพการบริหารผลการปฏิบัติงานของครูโรงเรียนพื้นที่สูงในถิ่นทุรกันดาร
1.2 ขั้นตอนการบริหารผลการปฏิบัติงานครูโรงเรียนพื้นที่สูงในถิ่นทุรกันดาร
2. ตัวชี้วัดผลการบริหารผลการปฏิบัติงานของครู โรงเรียนพื้นที่สูงในถิ่นทุรกันดาร
ครอบคลุมในเรื่อง
2.1 ผลสำเร็จการปฏิบัติงานของครู โรงเรียนพื้นที่สูงในถิ่นทุรกันดาร
2.2 สมรรถนะการปฏิบัติงานของครู โรงเรียนพื้นที่สูงในถิ่นทุรกันดาร
2.3 งานอื่นที่ได้รับมอบหมายจากผู้บังคับบัญชาในการปฏิบัติงานของครูโรงเรียน
พื้นที่สูงในถิ่นทุรกันดาร
3. การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารผลการปฏิบัติงานของครู
โรงเรียนพื้นที่สูงในถิ่นทุรกันดาร
3.1 องค์ประกอบระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารผลการปฏิบัติงานของครู
โรงเรียนพื้นที่สูงในถิ่นทุรกันดาร
3.1.1 ขั้นตอนการทำงานในระบบสารสนเทศ (Procedure)
3.1.2 ข้อมูล (data)
3.1.3 สารสนเทศ (information)
3.2 การออกแบบระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารผลการปฏิบัติงานครูโรงเรียน
พื้นที่สูงในถิ่นทุรกันดาร มี ได้แก่
3.2.1 แบบจำลองกระบวนการ (Process Modeling) นำเสนอในรูปแบบ
แผนภาพแสดงลำดับขั้นตอนการทำงาน (Flowchart)
3.2.2 แบบจำลองข้อมูล (Data Modeling) นำเสนอในรูปแบบ แผนภาพกระแสข้อมูล
(Data Flow Diagram)
3.2.3 ฐานข้อมูล (Data Base Design) นำเสนอในรูปแบบ พจนานุกรมข้อมูล (Data
Dictionary)
3.2.4 ภาพจำลองการใช้งาน (User Interface Design)
นำเสนอในรูปแบบรูปภาพจำลองหน้าจอคอมพิวเตอร์
3.3 ประสิทธิภาพของระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารผลการปฏิบัติงานครูโรงเรียนพื้นที่สูง
ในถิ่นทุรกันดาร
If We Cannot measure We cannot manage ,
If We can measure We can manage
แต่ครูก็มีปัญหาเหมือนกัน
ตัวแปรคุณลักษณะของครูโดยค่าน้ำหนักที่ได้มีค่าค่อนข้างสูง
(วิทยากร เชียงกูล, 2553, หน้า 60 - 63)
นายสุขสันต์ สอนนวล
นักศึกษาปริญญาเอก สาขาบริหารการศึกษา
มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย