Loading…
Transcript

biology

ear

หูกับการได้ยิน

หูกับการได้ยิน

หูของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมซึ่งรวมถึง

มนุษย์เป็นอวัยวะที่ทำหน้าที่ 2 ประการ ซึ่งก็คือ

หน้าที่ 2 ประการ

หน้าที่

2 ประการ

  • การได้ยินหรือการรับฟังเสียง (Phonoreceptor) โดยสามารถแยกความแตกต่างของคลื่นเสียงได้
  • การทำหน้าที่ทรงตัว รักษาสมดุลของร่างกาย (Statoreceptor)

หูส่วนนอก

ส่วนประกอบ

ของหู

หูส่วนนอก

ประกอบด้วย

หูส่วนนอก (External ear) ซึ่งประกอบด้วย

ใบหู (Pinna)

1. ใบหู (Pinna) มีหน้าที่ในการรวบรวมคลื่นเสียงที่มาจากที่ต่างๆ ส่งเข้าสู่รูหู ใบหูมีกระดูกอ่อนอีลาสติก เป็นแกนอยู่ภายใน ทำให้โค้งพับงอได้

หูส่วนนอก (External ear) ซึ่งประกอบด้วย

ช่องหู หรือ รูหู (Auditory canal)

2. ช่องหู หรือ รูหู (Auditory canal) เป็นส่วนที่อยู่ถัดใบหูเข้ามาจนถึงเยื่อแก้วหู ทำหน้าที่เป็นทางเดิน

ของคลื่นเสียงเข้าสู่หูส่วนกลาง

รูหูมีขนและต่อมสร้างขี้หู (Cerumious gland) ทำหน้าที่สร้างขี้หูไว้ดักฝุ่นละอองหรือสิ่งแปลกปลอมไม่ให้เข้าไปในรูหู

หูส่วนนอก (External ear) ซึ่งประกอบด้วย

แก้วหู หรือ เยื่อแก้วหู (Tympanic membrane หรือ Ear drum)

3. แก้วหู หรือ เยื่อแก้วหู (Tympanic membrane หรือ Ear drum) มีลักษณะเป็นเยื่อบางๆ และเป็นเส้นใยที่มีความยาวเท่าๆกันจึงสั่นสะเทือน เมื่อมีเสียงมากระทบและแยกคลื่นเสียงที่แตกต่างกันได้โดยมีความว่องไวต่อการเปลี่ยนแปลงความดัน แต่จะไม่ไวต่อการเปลี่ยนแปลงความเร็ว (คลื่นเสียงจะทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลแรงดันในช่องหู)

หูส่วนกลาง

หูส่วนกลาง

Middle ear

!

หูส่วนกลาง (Middle ear) เป็นส่วนที่ถัดจากแก้วหูเข้ามา ภายในหูส่วนกลางนี้มีกระดูก 3 ชิ้นคือ กระดูกค้อน (Malleus) กระดูกทั่ง (Incus) และกระดูกโกลน (Stapes) เรียงตามลำดับจากด้านนอกเข้าสู้ด้านใน มีหน้าที่ในการขยายการสั่นสะเทือนของคลื่นเสียงให้มากขึ้น และจึงส่งต่อการสั่งสะเทือน เข้าสู่หูส่วนในเพื่อแปลเป็นความรู้สึกเพื่อส่งต่อไปยังสมอง ภายในหูตอนกลางจะมีท่อยูสเทเชียน (Eustachian tube) มีลักษณะเป็นท่อกลวงขนาดเล็ก เชื่อมติดระหว่างคอหอยและหูชั้นกลาง มีหน้าที่ปรับความดันภายในหูให้ภายในหูมีความดันเท่ากับความดันภายนอก ถ้าหากระดับความดันของทั้งสองแห่งไม่เท่ากัน จะมีผลทำให้รู้สึก หูอื้อ และถ้าเกิดความแตกต่างมากจะทำให้รู้สึกปวดหู

หูส่วนใน

หูส่วนใน

หูส่วนใน(Internal ear) อยู่ถัดจากกระดูกโกลนเข้ามา หูชั้นนี้ประกอบด้วยอวัยวะที่สำคัญ 2 ส่วน คือ

Semicircilar carnal Utricle และ Seccule ทำหน้าที่เกี่ยวกับการทรงตัวและสมดุลของร่างกาย

Cochlea มีรูปร่างคล้ายก้นหอย ทำหน้าที่เกี่ยวกับการรับเสียง

Step 1

Warm-up

activity

เมื่อเรายืด Cochlear ออกแล้วผ่าตามขวาง จะพบว่า

Vestibular canal อยู่ด้านบน

Tympanic canal อยู่ด้านล่าง

ภายในมีของเหลว perilymphatic fluid เชื่อว่าเป็นของเหลวที่มาจากน้ำหล่อไขสันหลัง

ขั้นกลางด้วยCochlear duct

ภายในมีของเหลว endolymphatic fluid เชื่อว่าเป็นของเหลวที่มาจาก secretory cell

ฐานของ Cochlear duct Basilar membrane จะมี Organ of Corti ซึ่งภายในจะมีมีตัวรับแรงกล

Step 2

ฐานของ Cochlear duct Basilar membrane จะมี Organ of Corti ซึ่งภายในจะมีมีตัวรับแรงกล

ซึ่งมีส่วนประกอบที่สำคัญดังนี้

1. เซลล์ขน (hair cells) เป็นตัวรับการกระตุ้นของเสียง ซึ่งมีอยู่สองแถว คือ

แถวนอก (outer hair cells) มีอยู่ราวๆ 12,000-20,000 เซลล์ ส่วนแถวใน

(inner hair cells)

มีอยู่ราว 3,600 เซลล์ นอกจากนี้ยังมีเซลล์ประกอบอยู่ข้างเคียงอีกเล็กน้อยซึ่งไม่มีความสำคัญนัก

เซลล์ขน

(hair cells)

2.แผ่นเยื่อบางๆมีลักษณะเป็นแผ่นวุ้น (gelatinous substance) เรียกว่า เยื่อบุเทคโทเรียล (tectorial membrane)ซึ่งจะขยับขึ้นลงในขณะที่มีเสียงกระตุ้นหู และจะเป็น

ตัวกระตุ้นเซลล์ขนให้รู้สึกว่ามีเสียงมาสัมผัส

แผ่นเยื่อ

บางๆ

เส้น

ประสาท

3. เส้นประสาทรับความรู้สึก จากเซลล์ประสาทรวมตัวกันเป็นปมประสาท

เรียกว่า

ปมประสาทสไปรัล (spiral ganglions) จากนั้นจะรวมเป็นเส้นประสาทใหญ่ เรียกว่า

เส้นประสาทอะคูสติก (acoustic nerve) หรือเส้นประสาทคอเคลีย (cochlear nerve)

ซึ่งจะรวมเป็นเส้นประสาทสมองคู่ที่ 8 วิ่งเข้าสู่สมอง ส่วนที่เกี่ยวกับการได้ยิน (auditory

cortex) บริเวณพูด้านขมับ (temporal lobe)

!

การได้ยินเสียง

การได้ยินเสียง

เสียงที่เกิดขึ้นทุกชนิดมีลักษณะเป็นคลื่นเสียง ใบหูรับคลื่นเสียงเข้าสู่รูหูไปกระทบเยื่อแก้วหู เยื่อแก้วหูถ่ายทอดความสั่นสะเทือนของคลื่นเสียงไปยังกระดูกค้อน กระดูกทั่ง และกระดูกโกลน ซึ่งอยู่ในหูชั้นกลางและเลย ไปยังท่อรูปครึ่งวงกลม แล้วต่อไปยังของเหลวในท่อรูปหอยโข่ง และประสาทรับเสียงในหูชั้นในตามลำดับ ประสาทรับเสียงถูกกระตุ้นแล้วส่งความรู้สึกไปส

ู่สมองเพื่อแปลความหมายของเสียงที่ได้ยิน

Title

สาเหตุ

ต่างๆ

การได้ยินเสียงชัดเจนขึ้นอยู่กับสาเหตุต่างๆ

การได้ยินเสียงชัดเจนขึ้นอยู่กับสาเหตุต่างๆ ดังนี้

1.แรงสั่นสะเทือน เสียงดังมากแรงสั่นสะเทือนก็มาก

2.ระยะทางจากต้นกำเนิดเสียงมาถึงหู พลังงานเสียงจะเคลื่อนที่จากแหล่งกำเนิดทุกทิศทุกทาง พลังงานเสียงก็จะเคลื่อนที่และค่อยๆลดลง จนพลังงานเสียงหมดไป ดังนั้นคนที่อยู่ใกล้กับแหล่งกำเนิดเสียงจะได้ยินเสียงที่ดังและชัดเจนกว่าคนที่อยู่ไกลออกไป

3.สุขภาพของหู หากอวัยวะรับเสียงเสื่อม เราก็จะได้ยินเสียงไม่ชัดเจน

4.การรบกวนจากเสียงอื่นๆ เช่น มีลมพัด มีวัตถุมากั้นทางเดินของเสียง

กลไกการ

ได้ยินเสียง

กลไกการได้ยินเสียง

การได้ยินเสียงของคนเรานั้นเริ่มต้นเมื่อมีคลื่นเสียงจากการสั่นสะเทือนของอากาศผ่านเข้ามาในหูชั้นนอก และเข้าไปกระทบเยื่อแก้วหูทำให้เกิดการสั่นของเยื่อแก้วหู และผ่านการสั่นสะเทือนต่อไปยังกระดูกรูปฆ้อน กระดูกรูปทั่ง และกระดูกรูปโกลนในชั้นหูกลาง

กระดูกรูปโกลนติดต่ออยู่กับก้นหอยของหูชั้นใน จะส่งผ่านการสั่นสะเทือนเข้าไปในหูชั้นใน ซึ่งมีของเหลวและเซลล์ขนอยู่ การสั่นสะเทือนจะถูกเปลี่ยนเป็นพลังงานไฟฟ้า และถูกส่งผ่านเซลล์ขนไปสู่เส้นประสาทหูไปยังสมองเพื่อให้เกิดการรับรู้ และแปลความหมายของเสียงที่ได้ยิน

มลภาวะของเสียง

มลภาวะ

ของเสียง

ความดังของเสียง เกิดจากพลังงานของการสั่นที่มากหรือน้อย หากเสียงที่ดังมากๆ ก่อให้เกิดความรำคาญ เรียกว่า มลภาวะของเสียง ความดังของเสียงมีหน่วยเป็นเดซิเบล (dB) โดยมีเครื่องวัดความเข้มของเสียงเรียกว่า เดซิเบลมิเตอร์ หากไปที่ที่มีเสียงดังมากๆ ควรสวมเครื่องป้องกันเสียงทุกครั้ง

ประโยชน์ของเสียง

1.ช่วยในการติดต่อสื่อสาร เช่น วิทยุ โทรศัพท์ การพูดคุยกัน

2.ช่วยทำให้เกิดความบันเทิง เช่น เสียงดนตรี เครื่องดนตรีชนิดต่างๆ

3.ประดิษฐ์เครื่องมือ เช่น เครื่องฟังการเต้นของหัวใจ

ประโยชน์

ของเสียง

present

presented by

supattra pitchapat tharnutta

pimlapat norfatin aphatcha and nijalwatee

matthayom 6/1