Introducing 

Prezi AI.

Your new presentation assistant.

Refine, enhance, and tailor your content, source relevant images, and edit visuals quicker than ever before.

Loading content…
Transcript

อุปชาติิ

คำฉันท์ ๑๑

"มัทนะพาธา"

อุปชาติฉันท์ ๑๑

อุปชาติฉันท์ ๑๑

“อุปชาติฉันท์” เป็นชื่อที่เรียกตามแบบไทย แต่ในคัมภีร์วุตโตทัย ท่านเรียกว่า “อุปชาติคาถา” มีสูตรว่า

อนนฺตโรทีริตลกฺขณา เจ

ปาทา วิมิสฺสา อุปชาติโย ตา

เอวํ กิรญฺญาสุปิ มิสฺสิตาสุ

วทนฺติ ชาติสฺวิทเมว นามํ.

ความหมายของคาถา

ความว่า “หากบาทคาถามีลักษณะดังกล่าว แล้วต่อเนื่องกันคือเป็นบาทที่ผสมกันในคาถาใด คาถานั้นชื่อว่า “อุปชาติคาถา”

โดยหลักเกณฑ์ฉันท์นี้เป็นคาถาผสม ระหว่างอุเปนทรวิเชียรคาถากับอินทรวิเชียรคาถา

หนึ่งบทมี ๔ บาท บาทละ ๑๑ พยางค์ แบ่งเป็น ๒ วรรค วรรคแรก ๕ พยางค์

วรรคหลัง ๖ พยางค์ ส่งสัมผัสแบบกาพย์จึงเป็นองค์ประกอบสมบูรณ์ บาทแรกขึ้นด้วยอุเปนทรวิเชียร

บาทที่ ๒ เป็นอินทรวิเชียร

บาทที่ ๓ เป็นอินทรวิเชียร

บาทที่ ๔ เป็นอุเปนทรวิเชียร บทต่อไปก็สลับกันอย่างนี้

องค์ประกอบ

ของฉันท์

ฉันทลักษณ์

ฉันทลักษณ์

ลักษณะครุ-ลหุ

บาทที่ ๑ และบาทที่ ๔ เป็นอุเปนทรวิเชียรฉันท์ คือ

ลหุ-ครุ-ลหุ-ครุ-ครุ ลหุ-ลหุ-ครุ-ลหุ-ครุ-ครุ

บาทที่ ๒ และบาทที่ ๓ เป็นอินทรวิเชียรฉันท์ คือ

ครุ-ครุ-ลหุ-ครุ-ครุ ลหุ-ลหุ-ครุ-ลหุ-ครุ-ครุ

ฉากทางเดินในดง

อุปชาติฉันท์ ๑๑ ในวรรณคดี

บทประพันธ์

‘อโหระลึกขึ้น ละก็สุดจะเสียดาย!

ได้เคยประสพหลาย มิคะแล้วบ่เคยเห็น

กวางงามอร่ามทั่ว วรกายะดังเช่น

ดนูละเลิงเล่น จรไล่ ณ วันนี้.

ถอดความ

ชะเนตร์สนิธนิล กะละนิลมะณีศรี,

ยามแลชำเลืองมี กิริยาประหนึ่งอาย;

เขางามประหนึ่งช่อ วรวิชชุมาลย์ฉาย,

และหนังระยับลาย กละเลื่อมประดับวาว;

บทประพันธ์

ถอดความ

ขนองสนิทดำ ดุจะเขียนเขม่ายาว,

งามทรวงสอาดราว หิมะตก ณ ยอดผา:

ยามเดิรก็งามยิ่ง และจะวิ่งก็ยวนตา,

จริตกิริยา กละสาวสุรางค์สวรรค์.

บทประพันธ์

ถอดความ

การอ่าน

อุปชาติฉันท์ ๑๑

คำถาม

คำถาม

๑. อุปชาติคำฉันท์ ๑๑ มีชื่อเรียกในคัมภีร์วุตโตทัยว่าอะไร ?

๒. อุปชาติคำฉันท์นำเอาหลักเกณฑ์อะไรมาเป็นหลัก ?

๓. อุปชาติคำฉันท์มีองค์ประกอบอย่างไรบ้าง ?

๔. อุปชาติคำฉันท์ ๑๑ มีอุปชาติคาถา โดยมีความว่าอะไร ?

๕. อุปชาติคำฉันท์ ๑๑ ปรากฏอยู่ในเหตุการณ์ใดของวรรณคดีมัทนะพาธา?

อุปชาติคาถา

หลักเกณฑ์ฉันท์นี้เป็นคาถาผสม ระหว่าง

อุเปนทรวิเชียรคาถากับอินทรวิเชียรคาถา

หนึ่งบทมี ๔ บาท บาทละ ๑๑ พยางค์

แบ่งเป็น ๒ วรรค วรรคแรก ๕ พยางค์ วรรคหลัง ๖ พยางค์

“หากบาทคาถามีลักษณะดังกล่าว แล้วต่อเนื่องกันคือเป็นบาทที่ผสมกันในคาถาใด คาถานั้นชื่อว่า “อุปชาติคาถา”

เหตุการณ์ทางเดินในดง

Learn more about creating dynamic, engaging presentations with Prezi