Introducing 

Prezi AI.

Your new presentation assistant.

Refine, enhance, and tailor your content, source relevant images, and edit visuals quicker than ever before.

Loading…
Transcript

3

2

4

5

1

0

6

7

CCCF

CCCF

ย่อมาจาก

ย่อมาจาก

C : Completely

C : Check

C : Completely

F : Find Out

ความหมาย

ความหมาย

กิจกรรมในการค้นหาและประเมินอันตรายโดย มุ่งเน้นให้ทุกๆคนมีส่วนร่วมในการค้นหาอันตราย โดยยึดหลัก "Genchi-Genbutsu" (คือ การไปดูและ วิเคราะห์ปัญหาจากสถานที่ทำงานจริง)

ประเภทอุบัติเหตุ 6 ชนิด (Stop 6) ในสถานที่ทำงาน

ประเภทอุบัติเหตุ 6 ชนิด (Stop 6) ในสถานที่ทำงาน

STOP 1 : อุบัติเหตุจากเครื่องจักร

STOP 2 : อุบัติเหตุจากวัตถุหนักตกใส่

STOP 3 : อุบัติเหตุจากยานพาหนะ

STOP 4 : อุบัติเหตุจากตกจากที่สูง

STOP 5 : อุบัติเหตุจากไฟฟ้า

STOP 6 : อุบัติเหตุอื่นๆ

ระดับความรุนแรง

ระดับความรุนแรง

RANK A : สูญเสียอวัยวะ หรือเสียชีวิต

RANK B : หยุดงาน ไม่สูญเสียอวัยวะ

RANK C : ไม่หยุดงาน บาดเจ็บเล็กน้อย

ขั้นตอนการจัดกิจกรรม CCCF

ขั้นตอนการจัดกิจกรรม CCCF

ขั้นที่ 2

ขั้นที่ 1

Form A

Form B

สังเกตอันตรายในทุกๆ

วันโดย "Genchi-genbutsu"

ผู้รับผิดชอบ หัวหน้างาน วิศวกร

ประเมินระดับอันตราย

โดยใช้ Stop 6

ผู้รับผิดชอบ

หัวหน้างาน วิศวกร

ประเมินอุบัติเหตุโดย

แยกระดับความเสี่ยง

ผู้รับผิดชอบ หัวหน้างาน

วิศวกร

ค้นหาอันตรายโดยใช้หลัก

"Genchi-genbutsu"

ผู้รับผิดชอบ ผู้ปฏิบัติงาน

หัวหน้างาน วิศวกรและ

ผู้จัดการ

ขั้นที่ 4

ขั้นที่ 3

Operation Std.

Form B/WI

Visual

control

ค้นหา/ตรวจสอบความ

รุนแรงระดับ A

ผู้รับผิดชอบ

หัวหน่วยงาน

หัวหน้าส่วนงาน

จัดทำ CCCF visual control board

ผู้รับผิดชอบ หัวหน้างาน วิศวกร

กำหนดแผนแก้ไขปรับปรุง

ผู้รับผิดชอบ ผู้จัดการฝ่าย

ทำการแก้ไขและติดตามผล

ผู้รับผิดชอบ ผู้จัดการฝ่าย

ตัวอย่างแบบ Form A , Form B

ตัวอย่างแบบ Form A , Form B

Form A

Form B

Stop 1

Stop 1

รูปที่ 1

Before

Before

  • บริเวณที่เกิดปัญหา : หน้าตึก 21
  • ปัญหาที่เกิดขึ้น : คนงานจะโดนสะเก็ดไฟกระเด็น ใส่มือและเท้าได้ จากการเชื่อมเหล็กได้
  • ประเภทของอุบัติเหตุ : Stop 1 อุบัติเหตุจาก เครื่องจักร
  • ระดับความรุนแรง : Rank C

After

After

  • วิธีการแก้ไขปัญหา

- ควรบอกให้คนงานหยุดการทำงาน

- ให้คนงานสวมใส่ชุดมาตรฐาน PPE เช่น

ถุงมือผ้า รองเท้าเซฟตี้ หมวกเซฟตี้ แว่นตา

หรือหน้ากาก และใส่เสื้อผ้าให้รัดกุม

  • ระยะเวลาในการแก้ไข : ควรทำการแก้ไขภาย ใน 2 สัปดาห์
  • ผลจากการแก้ไขปัญหา : คนงานจะไม่โดน สะเก็ดไฟกระเด็นใส่มือและเท้าและมี ความปลอดภัยในการทำงานมากขึ้น

รูปที่ 2

Before

Before

  • บริเวณที่เกิดปัญหา : พื้นที่ด้านข้างตึก 1 ที่มีการก่อสร้าง
  • ปัญหาที่เกิดขึ้น : เศษเหล็กกระเด็นเข้าตา
  • ประเภทของอุบัติเหตุ : Stop 1 อุบัติเหตุจาก เครื่องจักร
  • ระดับความรุนแรง : Rank C

After

After

  • วิธีการแก้ไขปัญหา : ต้องใส่อุปกรณ์ PPE ตลอดการทำงาน เช่น หมวกนิรภัย แว่นตา ถุงมือ รองเท้าหุ้มส้น ในกรณีงาน ที่มีเสียงดังให้สวมใส่ที่อุดหู และอบรมการใช้งานเครื่องจักร และอุปกรณ์ต่างๆ
  • ระยะเวลาในการแก้ไข : ควรทำการแก้ไขภายใน 2 สัปดาห์
  • ผลจากการแก้ไขปัญหา : เศษเหล็กไม่กระเด็นเข้าตา

Stop 2

Stop 2

รูปที่ 1

Before

Before

  • บริเวณที่เกิดปัญหา : กิจกรรมตัดกิ่งไม้บริเวณหน้าทางเข้า ชั้นใต้ดินตึก 10
  • ปัญหาที่เกิดขึ้น : กิ่งไม้จะตกใส่บุคคลที่เดินผ่านไปมาได้ ศีรษะจะได้รับบาดเจ็บ
  • ประเภทของอุบัติเหตุ : Stop 2 อุบัติเหตุจากวัตถุหนักตกใส่
  • ระดับความรุนแรง : Rank B

After

After

  • วิธีการแก้ไขปัญหา

- ควรมีป้ายเตือนว่าห้ามเข้าใกล้บริเวณที่

กำลังทำงานอยู่

- ควรทำเส้นสีเหลืองดำกั้นบริเวณตัดกิ่งไม้

- ควรตัดกิ่งไม้ช่วงมหาวิทยาลัยปิดทำการ

หรือช่วงที่ไม่มีการเรียนการสอน

  • ระยะเวลาในการแก้ไข : ควรทำการแก้ไขภาย

ใน 1 สัปดาห์

  • ผลจากการแก้ไขปัญหา : กิ่งไม้จะไม่ตกใส่ บุคคลที่เดินผ่านไปมา

รูปที่ 2

Before

Before

  • บริเวณที่เกิดปัญหา :หน้าตึก 19
  • ปัญหาที่เกิดขึ้น : สายไฟแขวนเครื่องปล่อย WiFi ขาดทำให้เครื่องตกใส่ศีรษะ
  • ประเภทของอุบัติเหตุ : Stop 2 อุบัติเหตุจาก วัตถุหนักตกใส่
  • ระดับความรุนแรง : Rank C

After

After

  • วิธีการแก้ไขปัญหา : นำสายไฟที่ขาดออก
  • ระยะเวลาในการแก้ไข : ควรทำการแก้ไขภายใน 2 สัปดาห์
  • ผลจากการแก้ไขปัญหา : คนที่เดินผ่านไปมามีความ ปลอดภัยเนื่องจากได้นำเครื่องปล่อย WiFi ออกไปแล้ว

รูปที่ 3

Before

Before

  • บริเวณที่เกิดปัญหา : ทางเข้าแผนกซ่อมบำรุง
  • ปัญหาที่เกิดขึ้น : หลอดไฟจะตกลงมาโดนคนที่เดิน ผ่านไปมาจนได้รับอันตรายทั้งตัวโดยเฉพาะส่วนศีรษะ
  • ประเภทของอุบัติเหตุ : Stop 2 อุบัติเหตุจากวัตถุหนัก ตกใส่
  • ระดับความรุนแรง : Rank B

After

After

  • วิธีการแก้ไขปัญหา

- ทำป้ายเตือนระวังวัตถุตกใส่

- ทำเป็นกรงเหล็กเชื่อมติดกับผนังโดยให้มีประตู

เปิดปิดได้ ให้ง่ายต่อการซ่อมบำรุง และล็อคประตูไว้

ตลอดเวลา

  • ระยะเวลาในการแก้ไข : ควรทำการแก้ไขภายใน 1 สัปดาห์
  • ผลจากการแก้ไขปัญหา : หลอดไฟจะไม่ตกลงมา โดนคนที่เดินผ่านไปมา

รูปที่ 4

Before

Before

  • บริเวณที่เกิดปัญหา : เพดานชั้นที่ 1 ของตึก 1 ตรงทาง เดินไปตึก 10
  • ปัญหาที่เกิดขึ้น : ฝ้าเพดานจะตกลงมาโดนคนที่เดินผ่าน ไปผ่านมา จะทำให้เกิดอันตรายต่อตัวคน และศีรษะแตก ได้
  • ประเภทของอุบัติเหตุ : Stop 2 อุบัติเหตุจากวัตถุหนัก ตกใส่
  • ระดับความรุนแรง : Rank B

After

After

  • วิธีการแก้ไขปัญหา

- ทำเส้นสีเหลืองดำไม่ให้คนเดินผ่านบริเวณนั้น

- ทำการปรับปรุงและซ่อมแซมฝ้าเพดาน

  • ระยะเวลาในการแก้ไข : ควรทำการแก้ไขภายใน 1 สัปดาห์
  • ผลจากการแก้ไขปัญหา : ฝ้าเพดานจะไม่ตกลงมาโดน คนที่เดินผ่านไปผ่านมา

Stop 3

Stop 3

รูปที่ 1

Before

Before

  • บริเวณที่เกิดปัญหา : ตึก 19 ชั้น 1 ห้องปฏิบัติการ วิศวกรรมศาสตร์
  • ปัญหาที่เกิดขึ้น : คนใช้งานแฮนด์ลิฟไม่ถูกต้องตาม วิธีการใช้งาน ทำให้เกิดอันตรายกับทุกส่วนภายใน ร่างกายได้ เช่น แผลฟกช้ำ
  • ประเภทของอุบัติเหตุ : Stop 3 อุบัติเหตุจากยานพาหนะ
  • ระดับความรุนแรง : Rank C

After

After

  • วิธีการแก้ไขปัญหา : อบรมการใช้อุปกรณ์ต่างๆ ภายในห้องปฏิบัติงาน และมีการติดป้ายวิธีการ ใช้งานเครื่องจักรและอุปกรณ์ภายในห้องปฏิบัติงาน
  • ระยะเวลาในการแก้ไข : ควรทำการแก้ไขภายใน 2 สัปดาห์
  • ผลจากการแก้ไขปัญหา : สามารถใช้งาน แฮนด์ลิฟได้ถูกวิธีการใช้งาน และไม่ทำให้เกิด อันตรายขณะที่ใช้งาน

รูปที่ 2

Before

Before

  • บริเวณที่เกิดปัญหา : ประตูหลังมหาวิทยาลัย ตรงข้ามกับตึก 19 ตรงทางเข้าออกที่จอดรถ มอเตอร์ไซต์
  • ปัญหาที่เกิดขึ้น : รถมอเตอร์ไซต์ขับเฉี่ยวชน กันเองหรือเฉี่ยวชนคนที่เดินผ่านไปผ่านมา และจะทำให้เกิดเกิดการบาดเจ็บเล็กน้อย เช่น มีแผลถลอก
  • ประเภทของอุบัติเหตุ : Stop 3 อุบัติเหตุจาก ยานพาหนะ
  • ระดับความรุนแรง : Rank C

After

After

  • วิธีการแก้ไขปัญหา

- เอากรวยมาตั้งแบ่งเลนในการขับขี่

- ทำ Visual Control เป็นลูกศรที่พื้นเพื่อบอกทาง

เข้าออก และตีเส้นเพื่อแบ่งครึ่งเลนในการขับขี่

  • ระยะเวลาในการแก้ไข : ควรทำการแก้ไขภายใน 2 สัปดาห์
  • ผลจากการแก้ไขปัญหา : รถมอเตอร์ไซต์ขับจะไม่ เฉี่ยวชนกันเองหรือเฉี่ยวชนคนที่เดินผ่านไปผ่านมา

รูปที่ 3

Before

Before

  • บริเวณที่เกิดปัญหา : ทางเข้าออกด้านหลังมหาวิทยาลัย
  • ปัญหาที่เกิดขึ้น : รถทับคนที่เดินผ่านไปมา ก่อให้เกิด อันตรายถึงแก่ชีวิตได้
  • ประเภทของอุบัติเหตุ : Stop 3 อุบัติเหตุจากยานพาหนะ
  • ระดับความรุนแรง : Rank A

After

After

  • วิธีการแก้ไขปัญหา : จัดทำรั้วกั้น พร้อมปิดป้าย ประกาศว่า “เขตอันตรายในการก่อสร้าง”
  • ระยะเวลาในการแก้ไข : ควรทำการแก้ไขภายใน 3 วัน
  • ผลจากการแก้ไขปัญหา : รถจะไม่ทับคนที่เดินผ่านไปมา

Stop 4

Stop 4

รูปที่ 1

Before

Before

  • บริเวณที่เกิดปัญหา : ลานอเนกประสงค์ข้างตึก 19
  • ปัญหาที่เกิดขึ้น : คนงานจะตกลงมาจากนั่งร้าน ได้ อวัยวะทุกส่วนได้รับความกระทบกระเทือน เช่น แขนหัก ขาหัก คอหัก และมีอันตรายถึงขั้นเสียชีวิต
  • ประเภทของอุบัติเหตุ : Stop 4 อุบัติเหตุตกจากที่สูง
  • ระดับความรุนแรง : Rank A

After

After

  • วิธีการแก้ไขปัญหา : สวมใส่เข็มขัดนิรภัยและสาย ช่วยชีวิต (Safety Belt & Lift Line) ซึ่งเป็นอุปกรณ์ ป้องกันอันตรายที่จำเป็นสำหรับ ผู้ที่ทำงานบนนั่งร้าน และผู้ที่มีความเสี่ยงต่อการ ที่จะตกลงมาจากที่สูง
  • ระยะเวลาในการแก้ไข : ควรทำการแก้ไขภายใน 3 วัน
  • ผลจากการแก้ไขปัญหา : พนักงานมีความปลอดภัย ขณะทำงานมากยิ่งขึ้น

รูปที่ 2

Before

Before

  • บริเวณที่เกิดปัญหา : บันไดทางขึ้นตึก 19
  • ปัญหาที่เกิดขึ้น : นักศึกษาหรือบุคลากรจะเดินตก ช่องข้างบันไดได้
  • ประเภทของอุบัติเหตุ : Stop 4 อุบัติเหตุจากตกจากที่สูง
  • ระดับความรุนแรง : Rank A

After

After

  • วิธีการแก้ไขปัญหา : ควรทำราวกั้น
  • ระยะเวลาในการแก้ไข : ควรทำการแก้ไขภายใน 3 วัน
  • ผลจากการแก้ไขปัญหา : นักศึกษาหรือบุคลากรจะ ไม่เดินตกลงช่องข้างบันได

รูปที่ 3

Before

Before

  • บริเวณที่เกิดปัญหา : บริเวณตึก 24 ชั้น 2
  • ปัญหาที่เกิดขึ้น : นักศึกษาหรือบุคลากรจะ เดินตกจากชั้น 2 ได้
  • ประเภทของอุบัติเหตุ : Stop 4 อุบัติเหตุจาก ตกจากที่สูง
  • ระดับความรุนแรง : Rank A

After

After

  • วิธีการแก้ไขปัญหา

- ควรมีป้ายเตือนว่าห้ามเข้าใกล้บริเวณ

ดังกล่าว

- ควรทำราวกั้น

  • ระยะเวลาในการแก้ไข : ควรทำการแก้ไข ภายใน 3 วัน
  • ผลจากการแก้ไขปัญหา : นักศึกษาหรือ บุคลากรจะไม่เดินตกจากชั้น 2

รูปที่ 4

Before

Before

  • บริเวณที่เกิดปัญหา : ลานอเนกประสงค์ข้าง ตึก 19
  • ปัญหาที่เกิดขึ้น : พนักงานจะตกลงมาได้ อวัยวะทุกส่วนได้รับความกระทบกระเทือน เช่น แขนหัก ขาหัก คอหัก และมีอันตราย ถึงขั้นเสียชีวิต
  • ประเภทของอุบัติเหตุ : Stop 4 อุบัติเหตุ จากตกจากที่สูง
  • ระดับความรุนแรง : Rank A

After

After

  • วิธีการแก้ไขปัญหา

- พนักงานสวมใส่เข็มขัดนิรภัยและสายช่วยชีวิต

(Safety Belt & Lift Line) ในการทำงานที่สูง

- ฝึกอบรมพนักงานให้ใช้เครื่องมืออย่างถูกต้อง

  • ระยะเวลาในการแก้ไข : ควรทำการแก้ไขภายใน 3 วัน
  • ผลจากการแก้ไขปัญหา : พนักงานมีความปลอดภัย ขณะทำงานมากยิ่งขึ้น

รูปที่ 5

Before

Before

  • บริเวณที่เกิดปัญหา : บริเวณตึก 24 ชั้น 1
  • ปัญหาที่เกิดขึ้น : พนักงานตกจากที่สูง เกิดกับอวัยวะทุกส่วนของร่างกาย เช่น ขา แขน
  • ประเภทของอุบัติเหตุ : Stop 4 อุบัติเหตุจาก ตกจากที่สูง , Stop 1 อุบัติเหตุจากเครื่องจักร
  • ระดับความรุนแรง : Rank A

After

After

  • วิธีการแก้ไขปัญหา

- บริเวณที่ตั้งบันไดควรกั้นอาณาเขตและติดป้าย

บอก “ห้ามชน”

- การทำงานบนบันได ไม่ควรอยู่ห่างจากขั้นบันได

ขั้นสูงสุดเกินกว่า 1 ม. บันไดต้องอยู่ในตำแหน่งที่ผู้

ปฏิบัติงานสามารถทำงานได้โดยสะดวก ทำให้ไม่

ต้องยื่นตัวไปทำงานที่อยู่ไกล เพราะอาจเกิด

อันตรายได้ และผู้ทำงานในที่สูงให้คาดเข็มขัด

นิรภัยด้วย

  • ระยะเวลาในการแก้ไข : ควรทำการแก้ไขภายใน 3 วัน
  • ผลจากการแก้ไขปัญหา : พนักงานมีความปลอดภัย ขณะทำงานมากยิ่งขึ้น

รูปที่ 6

Before

Before

  • บริเวณที่เกิดปัญหา : ระเบียงบริเวณด้านข้างตึก 1 ชั้น 2 ที่มีการก่อสร้าง
  • ปัญหาที่เกิดขึ้น : คนจะเดินสะดุดแท่งเหล็กและแผ่นไม้ ได้ และคนจะเดินตกจากระเบียงทางเดินได้
  • ประเภทของอุบัติเหตุ : Stop 4 อุบัติเหตุจากตกจาก ที่สูง , Stop 6 อุบัติเหตุจากอื่นๆ
  • ระดับความรุนแรง : Rank A , Rank C

After

After

  • วิธีการแก้ไขปัญหา

- ทำป้ายห้ามเข้าไปในบริเวณนั้น

- ทำผนังเพื่อปิดบริเวณสุดทางเดิน และกำจัดแท่ง

เหล็กและเศษไม้ออกจากบริเวณนั้น

  • ระยะเวลาในการแก้ไข : ควรทำการแก้ไขภายใน 3 วัน , 2 สัปดาห์
  • ผลจากการแก้ไขปัญหา : คนจะไม่เดินสะดุดแท่ง เหล็กและแผ่นไม้ และคนจะไม่เดินตกจากระเบียง ทางเดิน

Stop 5

Stop 5

รูปที่ 1

Before

Before

  • บริเวณที่เกิดปัญหา : ห้องปฏิบัติการตึก 19 ชั้น 1
  • ปัญหาที่เกิดขึ้น : สายไฟขาดชำรุดจะทำให้ เกิดไฟรั่วหรือไฟช๊อตได้
  • ประเภทของอุบัติเหตุ : Stop 5 อุบัติเหตุ จากไฟฟ้า
  • ระดับความรุนแรง : Rank A

After

After

  • วิธีการแก้ไขปัญหา

- นำเทปสำหรับพันสายไฟมาพันบริเวณที่สายไฟ

ชำรุด

- ทำการเปลี่ยนสายไฟใหม่

  • ระยะเวลาในการแก้ไข : ควรทำการแก้ไขภายใน 3 วัน
  • ผลจากการแก้ไขปัญหา : จะไม่ทำให้เกิดไฟรั่วหรือ ไฟช๊อตได้

รูปที่ 2

Before

Before

  • บริเวณที่เกิดปัญหา : ตึก 19 ชั้น 1 ห้องปฏิบัติการ วิศวกรรมศาสตร์
  • ปัญหาที่เกิดขึ้น : สายที่ไฟที่ขาดเมื่อคนไปสัมผัส หรือเมื่อสัมผัสกับน้ำ จะทำให้เกิดการช็อต และเกิด อันตรายต่อตัวคนได้
  • ประเภทของอุบัติเหตุ : Stop 5 อันตรายที่เกิดจากไฟฟ้า
  • ระดับความรุนแรง : Rank A

After

After

  • วิธีการแก้ไขปัญหา

- เอาเทปสำหรับพันสายไฟมาพันรอบๆ บริเวณสายไฟ

ที่ขาด

- เปลี่ยนสายไฟใหม่ให้กับอุปกรณ์

  • ระยะเวลาในการแก้ไข : ควรทำการแก้ไขภายใน 3 วัน
  • ผลจากการแก้ไขปัญหา : เมื่อคนไปสัมผัสจะไม่ทำให้ เกิดการช็อต

รูปที่ 3

Before

Before

  • บริเวณที่เกิดปัญหา : สายไฟบริเวณป้อมยามหน้าประตู ทางเข้าด้านหน้ามหาวิทยาลัย
  • ปัญหาที่เกิดขึ้น : เมื่อมีนกมาสัมผัสหรือเกิดฝนตกจะ ก่อให้เกิดไฟฟ้าช็อตหรือลัดวงจรและทำให้เกิดไฟไหม้ได้ ก่อให้เกิดอันตรายต่อตัวคนถึงขั้นเสียชีวิตได้
  • ประเภทของอุบัติเหตุ : Stop 5 อุบัติเหตุจากไฟฟ้า
  • ระดับความรุนแรง : Rank A

After

After

  • วิธีการแก้ไขปัญหา

- เอาเทปสำหรับพันสายไฟ มาพันรอบๆ บริเวณ

สายไฟที่ขาด

- เปลี่ยนสายไฟใหม่

  • ระยะเวลาในการแก้ไข : ควรทำการแก้ไขภายใน 3 วัน
  • ผลจากการแก้ไขปัญหา : เมื่อมีนกมาสัมผัสหรือ เกิดฝนตกจะไม่ก่อให้เกิดไฟฟ้าช็อตหรือลัด วงจร และไม่ทำให้เกิดไฟไหม้

Stop 6

Stop 6

รูปที่ 1

Before

Before

  • บริเวณที่เกิดปัญหา : หน้าตู้ดับเพลิงบริเวณหน้า ทางเข้าชั้นใต้ดินตึก 10
  • ปัญหาที่เกิดขึ้น : มีกระสอบ,เศษวัสดุที่เหลือจาก การก่อสร้างวางอยู่หน้าตู้ดับเพลิง ดังนั้นเมื่อเกิดกรณีฉุกเฉิน เช่น ไฟไหม้ ไฟฟ้าลัดวงจร อุปกรณ์และเศษวัสดุพวกนี้จะไป ขัดขวางการเข้าถึงตู้ดับเพลิง
  • ประเภทของอุบัติเหตุ : Stop 6 อุบัติเหตุจากอื่นๆ
  • ระดับของความรุนแรง : Rank A

After

After

  • วิธีการแก้ไขปัญหา

- ทำความสะอาดบริเวณรอบ ตู้ดับเพลิง

- จัดทำ check list เพื่อตรวจสอบสภาพถัง

ดับเพลิงให้พร้อมใช้งานอยู่เสมอ

  • ระยะเวลาในการแก้ไข : ควรทำการแก้ไขภายใน 3 วัน
  • ผลจากการแก้ไขปัญหา : เมื่อเกิดกรณีฉุกเฉิน เช่น ไฟไหม้ ไฟฟ้าลัดวงจร สามารถเข้าถึงตู้ดับเพลิงได้ง่าย

รูปที่ 2

Before

Before

  • บริเวณที่เกิดปัญหา : ทางเดินหน้าตึก 19
  • ปัญหาที่เกิดขึ้น : มีเศษอุปกรณ์ก่อสร้าง วางกองอยู่ ซึ่งจะทำให้บุคคลที่เดินผ่านไปมา เหยียบหรือเดินสะดุดเศษอุปกรณ์ก่อสร้างได้ ส่งผลให้เท้าได้รับบาดเจ็บ
  • ประเภทของอุบัติเหตุ : Stop 6 อุบัติเหตุจากอื่นๆ
  • ระดับความรุนแรง : Rank C

After

After

  • วิธีการแก้ไขปัญหา

- เมื่อทำงานเสร็จแล้วควรทำความสะอาด

และนำอุปกรณ์ไปยังพื้นที่จัดเก็บให้

เรียบร้อย

- ควรทำเส้นสีเหลืองดำกั้นบริเวณเขต

ก่อสร้าง

  • ระยะเวลาในการแก้ไข : ควรทำการแก้ไข ภายใน 2 สัปดาห์
  • ผลจากการแก้ไขปัญหา : บุคคลที่เดินผ่าน ไปมาจะไม่เหยียบหรือเดินสะดุดเศษ อุปกรณ์ก่อสร้าง

รูปที่ 3

Before

Before

  • บริเวณที่เกิดปัญหา : ทางเดินหน้าตึก 10
  • ปัญหาที่เกิดขึ้น : นักศึกษาหรือบุคลากร จะเดินสะดุดหรือเดินชนได้
  • ประเภทของอุบัติเหตุ : Stop 6 อุบัติเหตุจากอื่นๆ
  • ระดับความรุนแรง : Rank C

After

After

  • วิธีการแก้ไขปัญหา : ควรทำที่จัดเก็บของ ที่ไม่ได้ใช้แล้ว
  • ระยะเวลาในการแก้ไข : ควรทำการแก้ไข ภายใน 2 สัปดาห์
  • ผลจากการแก้ไขปัญหา : นักศึกษาหรือ บุคลากร จะไม่เดินสะดุดหรือเดินชน เพราะไม่มีสิ่งกีดขวางวางเกะกะอยู่

รูปที่ 4

Before

Before

  • บริเวณที่เกิดปัญหา : ห้องปฏิบัติการชั้นใต้ดิน ตึก 10
  • ปัญหาที่เกิดขึ้น : มีตู้ โต๊ะ เก้าอี้ที่ไม่ได้ใช้งาน และรถตู้จอดขวางหน้าทางลงชั้นใต้ดินตึก 10 เมื่อมีเกิดเหตุฉุกเฉิน เช่น ไฟไหม้ จะทำให้กีด ขวางทางเข้าออกของคนที่อยู่บริเวณชั้นใต้ดิน ยากต่อการหลบภัย
  • ประเภทของอุบัติเหตุ : Stop 6 อุบัติเหตุจากอื่นๆ
  • ระดับความรุนแรง : Rank A

After

After

  • วิธีการแก้ไขปัญหา : ควรกำจัดสิ่งของ อุปกรณ์ รวมถึงรถออกจากบริเวณ ทางเข้าออกของชั้นใต้ดิน
  • ระยะเวลาในการแก้ไข : ควรทำการแก้ไขภายใน 3 วัน
  • ผลจากการแก้ไขปัญหา : เมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน เช่น ไฟไหม้ จะทำให้คนที่อยู่บริเวณชั้นใต้ดินง่ายต่อการ หลบภัยออกมา

รูปที่ 5

Before

Before

  • บริเวณที่เกิดปัญหา : ห้องปฏิบัติการชั้นใต้ดินตึก 10
  • ปัญหาที่เกิดขึ้น : ไม้กระดานจะล้มทับขณะปฏิบัติ งานได้ และจะเดินสะดุดสิ่งของที่วางกีดขวางทางเดิน เข้าไปปฏิบัติงานที่เครื่องกลึง
  • ประเภทของอุบัติเหตุ : Stop 6 อุบัติเหตุจากอื่นๆ
  • ระดับความรุนแรง : Rank B

After

After

  • วิธีการแก้ไขปัญหา : ควรกำจัดสิ่งของ อุปกรณ์ รวมถึงทำความสะอาด บริเวณรอบเครื่องกลึง
  • ระยะเวลาในการแก้ไข : ควรทำการแก้ไขภายใน 1 สัปดาห์
  • ผลจากการแก้ไขปัญหา : มีความปลอดภัยขณะปฏิบัติ งานได้ และจะไม่เดินสะดุดสิ่งของที่วางกีดขวางทาง เดินเข้าไปปฏิบัติงานที่เครื่องกลึง

รูปที่ 6

Before

Before

  • บริเวณที่เกิดปัญหา : ห้องปฏิบัติการตึก 19 ชั้น 1
  • ปัญหาที่เกิดขึ้น : มือจะได้รับบาดเจ็บจากการ หยิบอุปกรณ์ที่วางเกะกะ
  • ประเภทของอุบัติเหตุ : Stop 6 อุบัติเหตุจากอื่นๆ
  • ระดับความรุนแรง : Rank C

After

After

  • วิธีการแก้ไขปัญหา : จัดทำบอร์ดจัดเก็บอุปกรณ์ แต่ละประเภท เช่น ทำกล่องหรือลิ้นชักจัดเก็บ อุปกรณ์ หรือบอร์ดแขวนค้อน คีม เป็นต้น
  • ระยะเวลาในการแก้ไข : ควรทำการแก้ไขภายใน 2 สัปดาห์
  • ผลจากการแก้ไขปัญหา : มองเห็นอุปกรณ์ต่างๆ ได้ชัดเจนยิ่งขึ้นว่าวางอยู่ตรงไหน และสามารถ หยิบมาใช้และจัดเก็บอุปกรณ์ได้ง่ายขึ้น

รูปที่ 7

Before

Before

  • บริเวณที่เกิดปัญหา : บริเวณตึก 24 ชั้น 1
  • ปัญหาที่เกิดขึ้น : ไม้ที่มีตะปูขึ้นสนิมติดอยู่ ซึ่งจะทำให้เท้าเหยียบตะปูได้
  • ประเภทของอุบัติเหตุ : Stop 6 อุบัติเหตุจาก อื่นๆ
  • ระดับความรุนแรง : Rank B

After

After

  • วิธีการแก้ไขปัญหา : ควรทำเส้นสีเหลืองดำ กั้นบริเวณก่อสร้าง
  • ระยะเวลาในการแก้ไข : ควรทำการแก้ไข ภายใน 1 สัปดาห์
  • ผลจากการแก้ไข : คนจะไม่เดินไปบริเวณที่ ก่อสร้าง และจะไม่ทำให้เกิดอุบัติเหตุ

รูปที่ 8

Before

Before

  • บริเวณที่เกิดปัญหา : หลังอาคารจอดรถใหม่
  • ปัญหาที่เกิดขึ้น : มีท่อระบายน้ำไม่ปิดฝาก ครอบ เมื่อตกลงไปขาจะถลอกได้
  • ประเภทของอุบัติเหตุ : Stop 6 อุบัติเหตุจาก อื่นๆ
  • ระดับความรุนแรง : Rank C

After

After

  • วิธีการแก้ไขปัญหา

- ทำเส้นสีแดงกั้นบริเวณท่อระบายน้ำที่ไม่มีฝาปิด และนำกรวยสีส้มมาวาง

รอบท่อให้ทราบว่าเป็นพื้นที่อันตรายห้ามผ่าน

- นำฝาท่อมาปิดท่อระบาย

  • ระยะเวลาในการแก้ไข : ควรทำการแก้ไขภายใน 2 สัปดาห์
  • ผลจากการแก้ไขปัญหา : จะไม่ทำให้คนเดินตกลงไปในท่อระบายน้ำ

รูปที่ 9

Before

Before

  • บริเวณที่เกิดปัญหา : ทางเดินหน้าตึก 24
  • ปัญหาที่เกิดขึ้น : เท้าจะเหยียบกับลวดเหล็ก
  • ประเภทของอุบัติเหตุ : Stop 6 อุบัติเหตุจาก อื่นๆ
  • ระดับความรุนแรง : Rank C

After

After

  • วิธีการแก้ไขปัญหา : ทำเส้นกั้นสีแดงเป็นเขตห้ามเข้า
  • ระยะเวลาในการแก้ไข : ควรทำการแก้ไขภายใน 2 สัปดาห์
  • ผลจากการแก้ไขปัญหา : ไม่มีคนเดินเหยียบลวด เหล็ก และตกลงไป

รูปที่ 10

Before

Before

  • บริเวณที่เกิดปัญหา : พื้นที่ข้างตึก 1 ติดกับถนน
  • ปัญหาที่เกิดขึ้น : คนเดินสะดุดหรือเหยียบลวด เหล็กทำให้ได้รับบาดเจ็บที่เท้าหรือบริเวณขา
  • ประเภทของอุบัติเหตุ : Stop 6 อุบัติเหตุจากอื่นๆ
  • ระดับความรุนแรง : Rank C

After

After

  • วิธีการแก้ไขปัญหา : ทำเส้นกั้นสีแดงเป็นเขตห้ามเข้า
  • ระยะเวลาในการแก้ไข : ควรทำการแก้ไขภายใน 2

สัปดาห์

  • ผลจากการแก้ไขปัญหา : นักศึกษาและบุคลากรจะไม่ เดินสะดุดเหยียบลวดเหล็ก เนื่องจากได้กั้นบริเวณ เขตก่อสร้างแล้ว

รูปที่ 11

Before

Before

  • บริเวณที่เกิดปัญหา : บริเวณทางเดินใต้ตึก 5
  • ปัญหาที่เกิดขึ้น : โครงเหล็กทับคนที่เดินผ่านไปผ่านมา ก่อให้เกิดอันตรายต่อตัวคน เมื่อโครงเหล็กหล่นทับเส้น ประสาทที่สำคัญจะทำให้พิการได้
  • ประเภทของอุบัติเหตุ : Stop 6 อุบัติเหตุจากอื่นๆ
  • ระดับความรุนแรง : Rank B

After

After

  • วิธีการแก้ไขปัญหา

- นำโครงเหล็กไปจัดเก็บไว้ในพื้นที่จัดเก็บวัสดุก่อสร้าง

ของมหาวิทยาลัย

- นำโครงเหล็กไปใช้งาน

  • ระยะเวลาในการแก้ไข : ควรทำการแก้ไขภายใน 1 สัปดาห์
  • ผลจากการแก้ไขปัญหา : โครงเหล็กจะไม่ทับคนที่เดิน ผ่านไปผ่านมา

รูปที่ 12

Before

Before

  • บริเวณที่เกิดปัญหา : พื้นที่จอดรถมอเตอร์ไซต์ใต้ตึก 7
  • ปัญหาที่เกิดขึ้น : รถมอเตอร์ไซต์ล้มทับคน หรือในกรณีที่ เกิดไฟไหม้ จะทำให้ไม่สามารถเอาตัวรอดได้ทัน
  • ประเภทของอุบัติเหตุ : Stop 6 อุบัติเหตุจากอื่นๆ
  • ระดับความรุนแรง : Rank A

After

After

  • วิธีการแก้ไขปัญหา

- ติดป้ายห้ามจอดบริเวณทางลาดชัน

- ตีเส้นขาวแดง เพื่อเป็นสัญลักษณ์ว่าห้ามจอด

  • ระยะเวลาในการแก้ไข : ควรทำการแก้ไขภายใน 3 วัน
  • ผลจากการแก้ไขปัญหา : รถมอเตอร์ไซต์ไม่ล้ม ทับคน หรือในกรณีที่เกิดไฟไหม้ จะทำให้ สามารถเอาตัวรอดได้ทัน

การสรุปข้อมูล

การแบ่งประเภทของอุบัติเหตุ

การแบ่งประเภทของอุบัติเหตุ

การแบ่งประเภทของความรุนแรง

การแบ่งประเภทของความรุนแรง

แยกประเภทของอุบัติเหตุตามความเสี่ยงระดับต่างๆ

แยกประเภทของอุบัติเหตุตามความเสี่ยงระดับต่างๆ

Learn more about creating dynamic, engaging presentations with Prezi