Loading…
Transcript

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 4

พ.ศ. 2520-2524

หัวข้อที่สำคัญ

สถานการณ์ประเทศไทยก่อนเริ่มใช้แผนพัฒนา ฯ ฉบับที่ 4

1

2

สถานการณ์การเมือง สังคม และเศรษฐกิจในช่วง แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 4

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 4

3

หัวข้อ

  • รายละเอียดแผนพัฒนาฯ ฉบับ 4
  • สาระสำคัญของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 4
  • ผลการใช้แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 4

สถานการณ์ประเทศไทยก่อนเริ่มใช้แผนพัฒนา ฯ ฉบับที่ 4

สถานการณ์

ก่อนใช้แผน

แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 1-3 มุ่งเน้นด้านเศรษฐกิจเป็นหลักในการพัฒนาประเทศ

เกิดความเลื่อมล้ำทางสังคม

สิ่งแวดล้อมและทรัพยากร ทางธรรมชาติเสื่อมโทรม

ช่วงเปลี่ยนผ่านและสถานการณ์ความไม่สงบทางการเมือง

เกิคความขัดแย้งทางสังคมรวมทั้งความวุ่นวายในบ้านเมือง ประชาชนแบ่งเป็นฝักฝ่าย

สืบเนื่องจากสถานการณ์ทางเศรษฐกิจสังคมและการเมืองของประเทศในช่วงที่ผ่านมา เป็นมูลเหตุและเป็นพลังผลักดันให้รัฐบาลต้องวางแผนพัฒนาประเทศใน “แนวใหม่” โดยยึดถือความมั่นคงปลอดภัยของชาติเป็นพื้นฐานหลักเบื้องต้นของการพัฒนา โดยเน้นการปฏิรูปนโยบายหลายด้านที่เห็นว่าจำเป็นต่อการเปลี่ยนแปลงขั้นพื้นฐาน

ในโครงสร้างของระบบเศรษฐกิจและสังคม เพื่อเร่งฟื้นฟูเสถียรภาพทางเศรษฐกิจของประเทศให้มั่นคง

สถานการณ์การเมือง สังคม และเศรษฐกิจในช่วง แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 4

พ.ศ 2520 - 2524

สถานการณ์

ในช่วงแผน

เหตุการณ์ด้านการเมืองและสังคม

มีการเลือกตั้งทั่วไปครั้งที่ 13 และเป็นครั้งแรกหลัง

ประกาศใช้รัฐธรรมนูญ 2521

กบฏยังเติร์ก 

หรือ 

กบฏเมษาฮาวาย 

พลเอกเกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์

เป็นนายกรัฐมนตรีคนที่ 15

กบฏ

ฉลาด หิรัญสิริ

11 พ.ย. 2520 

22 เม.ย. 2522 

1-3 เม.ย. 2524 

26 มี.ค. 2520

22 ธ.ค 2521 

3 มี.ค. 2523 

20 ต.ค. 2520 

ด้านการเมืองและสังคม

รัฐประหารครั้งที่ 10

โดยพลเรือเอกสงัด ชลออยู่

ประกาศใช้รัฐธรรมนูญ

ฉบับที่ 13 ของประเทศ

พลเอกเปรม ติณสูลานนท์

เข้าดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี

คนที่ 16 ของประเทศ

นายธานินทร์ กรัยวิเชียร

(พ.ศ. 2519-2520)

พลเอกเกรียงศักดิ์ ชมะนันท์

(พ.ศ. 2520-2523)

พลเอก เปรม ติณสูลานนท์

(พ.ศ. 2523-2531)

สรุปเหตุการณ ์การเมือง

เหตุการณ์ด้านเศรษฐกิจ

พ.ศ 2520 - 2524

ด้านเศรษฐกิจ

วิกฤตการณ์ราชาเงินทุน 

วิกฤตการณ์ราชาเงินทุน 

บริษัทราชาเงินทุน ซึ่งเป็นบริษัทเงินทุนที่ใหญ่เป็นอันดับ 2 ของประเทศไทยในสมัยนั้น ในช่วงปี พ.ศ. 2521 - 2522 ได้ปล่อยสินเชื่อให้แก่กลุ่มบริษัทของตน

ทำให้เกิดหนี้เสียเป็นจำนวนมาก

จนในที่สุดกระทรวงการคลังต้องสั่งเพิกถอนใบอนุญาตของบริษัท เนื่องจากบริษัทเกิดสภาวะล้มละลาย หนี้สินมากกว่าทรัพย์สิน เมื่อวันที่ 7 สิงหาคม พ.ศ. 2522

วิกฤตการณ์

น้ำมันครั้งที่ 2

วิกฤตการณ์น้ำมันครั้งที่ 2 (พ.ศ. 2522-2523)

สาเหตุสำคัญมาจากปัญหาการเมืองภายในอิหร่าน ทำให้เศรษฐกิจอิหร่านแทบจะเป็นอัมพาต เกิดการประท้วงหยุดงานในบริเวณแหล่งผลิตน้ำมัน ทำให้ปริมาณการผลิตน้ำมันในประเทศและการส่งออกน้ำมันลดลงประเทศในกลุ่มโอเปคประกาศ

ให้ราคาน้ำมันเพิ่มขึ้นอีก 15 % ภายในระยะเวลา 1 ปี เกิดสงครามศาสนาระหว่างอิรักและอิหร่านขึ้นมาอีก ยิ่งทำให้การผลิตน้ำมันในตลาดโลกลดลง ผล ทำให้ราคาน้ำมันพุ่งพรวดไปอยู่ที่ 32-34 ดอลลาร์ต่อบาร์เรล

ผลกระทบที่เกิดขึ้นจากวิกฤตน้ำมันแพง

1.ขาดดุลการค้าและดุลการชำระเงิน

2.ต้นทุนการผลิตและราคาสินค้าสูงขึ้น

3.เสถียรภาพทางเศรษฐกิจไม่มั่นคง

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม

แห่งชาติ ฉบับที่ 4

แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 4

รายละเอียดของแผน

รายละเอียดแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 4

แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 4 เป็นแผนจัดกรอบ “นโยบายแห่งชาติ” มีประเด็นสำคัญที่แตกต่างไปจากแผนพัฒนาฯ ฉบับก่อนๆ คือ เป็นแผนพัฒนาฯ ที่มุ่งสร้างความเป็นธรรมทางสังคมภายใต้พื้นฐานของความมั่นคงแห่งชาติโดยเน้นการลดความ

เหลื่อมล้ำในฐานะของบุคคลทางเศรษฐกิจให้ลดลงและมุ่งที่จะเสริมสร้างสวัสดิภาพทางสังคมแก่คนส่วนใหญ่ในชาติมากกว่าเป็นแผนพัฒนาฯที่เน้นการขยายตัวทางเศรษฐกิจเป็นหลักอย่างที่เคย

จัดทำมาในช่วงของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 1 – 3

วัตถุประสงค์หลัก

2 เพื่อลดช่องว่างในฐานะทางเศรษฐกิจและ

สังคมในหมู่ประชาชน

ให้ลดน้อยลง

3 เพื่อลดอัตราเพิ่มและปรับปรุงคุณภาพของประชากรตลอดทั้ง

การเพิ่มการจ้างงาน

ในประเทศ

1 เพื่อเร่งฟื้นฟูเศรษฐกิจของประเทศ

วัตถุประสงค์

หลัก

5

เพื่อสนับสนุนขีด

ความสามารถในการป้องกันประเทศและแก้ปัญหาในบางพื้นที่เพื่อความมั่นคง

4

เพื่อเร่งบูรณะและ

ปรับปรุงการบริหาร

ทรัพยากรหลักตลอดทั้งสิ่งแวดล้อม

ของชาติ

เป้าหมาย

เป้าหมายส่วนรวมและเงื่อนไขการพัฒนาที่สำคัญๆ ของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 4

1.เป้าหมายการผลิต ขยายตัวโดยเฉลี่ยเพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ 7.0 ต่อปี

  • การเกษตรขยายตัวโดยเฉลี่ยในอัตราร้อยละ 5.0 ต่อปี
  • อุตสาหกรรมขยายตัวอย่างต่ำเฉลี่ยร้อยละ 9.6 ต่อป
  • ด้านเหมืองแร่ขยายตัวในอัตราถัวร้อยละ 3.2 ต่อปี

2.เป้าหมายการค้าระหว่างประเทศ

  • การส่งออกเพิ่มขึ้นโดยเฉลี่ย อย่างน้อยไม่ต่ำกว่าร้อยละ 13.7 ต่อปี
  • นำเข้าเพิ่มในอัตราเฉลี่ยร้อยละ 11.5 ต่อปี

3.เป้าหมายการลงทุน

  • มีมูลค่าการสะสมทุนถาวรภายในประเทศตลอด 5 ปี ของแผนพัฒนาฯ เพิ่มขึ้นเป็นจำนวน 564 พันล้านบาท

เป้าหมายส่วนรวมและเงื่อนไขการพัฒนาที่สำคัญๆ ของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 4

4.เป้าหมายการรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ

  • ดุลการชำระเงิน เพิ่มขึ้น 5,842 ล้านบาท หรือ เฉลี่ยร้อยละ 4.7 ต่อปี
  • การขยายตัวของปริมาณเงินในระบบเศรษฐกิจ โดยเฉลี่ยร้อยละ 13.0 ต่อปี
  • นโยบายระดับราคาทั่วไป

5.เป้าหมายด้านการคลัง

  • ขาดดุลงบประมาณแต่ละปีให้อยู่ในระหว่างจำนวน 11,600 - 15,300 ล้านบาท
  • ด้านรายได้ ให้เพิ่มขึ้นในอัตราเฉลี่ยร้อยละ 15.1 ต่อปี

6.เป้าหมายประชากรและการมีงานทำ

  • อัตราการเพิ่มประชากรลดลงให้เหลืออย่างน้อยไม่เกินร้อยละ 2.1 ในปีสุดท้ายของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 4
  • การสร้างงานเพิ่ม / มีงานทำในเมืองและชนบท

แนวทางการพัฒนา

แนวทางการพัฒนาหลัก

1) เร่งขยายการผลิตสาขาเกษตรให้ได้โดยเฉลี่ยถึงร้อยละ 5.0 ต่อปีเป็นอย่างต่ำ

2) ปรับปรุงโครงสร้างอุตสาหกรรม ขยายการผลิตเพื่อการส่งออก

3) วางแผนเร่งรัดการส่งออกและแผนการผลิตทดแทนการนำเข้า

4) กำหนดแนวทางการพัฒนาภาคและกระจายการพัฒนาเมืองหลักขึ้นในส่วนภูมิภาคให้ชัดเจน

5) เร่งขยายและกระจายบริการเศรษฐกิจขั้นพื้นฐาน

6) สนับสนุนและเร่งรัดแผนงานในการลดอัตราเพิ่มประชากร

7) วางแนวการขยายและการกระจายบริการสังคมให้ไปถึงมือประชาชนใน ชนบทอย่างกว้างขวาง

8) วางแนวทางการพัฒนาเสถียรภาพทางสังคมของชาติให้มั่นคงยิ่งขึ้น

9)กำหนดแนวทางการบูรณะและบริการจัดสรรทรัพยากรเศรษฐกิจหลักและแนวทางการพัฒนาสิ่งแวดล้อมของประเทศ

10) วางแผนพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

จุดเด่นของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 4

 1)  เน้นฟื้นฟูเศรษฐกิจ  เพื่อแก้ไขภาวะเศรษฐกิจตกต่ำที่เกิดในช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่  3  โดยพัฒนาอุตสาหกรรมการเกษตร  อุตสาหกรรมเพื่อการส่งออก  ส่งเสริมการลงทุนและการจ้างงาน

จุดเด่น

 2)  ปรับปรุงสภาพแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ

3)  เน้นสร้างความเป็นธรรมในสังคม  โดยเน้นการกระจายรายได้ให้ทั่วถึง

ผลของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 4

1. ด้านเศรษฐกิจ

  • อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจเพิ่มสูงขึ้นกว่าเป้าหมายเล็กน้อย
  • การผลิตสาขาเกษตรขยายตัวเพิ่มขึ้นในอัตราเฉลี่ยประมาณร้อยละ 3.5 ต่อปี ซึ่งต่ำกว่าเป้าหมายเมื่อเทียบกับการผลิตสาขาอื่นๆ
  • เกิดความแตกต่างและช่องว่างของรายได้ระหว่างประชากรในภาคเกษตรและภาคการผลิตอื่นๆ

2. ด้านการบริหารงานภาครัฐ

  • ภาวะเศรษฐกิจโลกตกต่ำ ราคาน้ำมันเพิ่มสูงขึ้น ประเทศไทยจำเป็นต้องพึ่งพาพลังงานจากต่างประเทศถึง ร้อยละ75 ทำให้ต้องใช้รายได้จากการส่งออกสินค้า ซื้อน้ำมันจากต่างประเทศมากขึ้นตามราคาที่สูงขึ้น
  • ขาดดุลทางการค้า
  • การเพิ่มการใช้จ่ายงบประมาณแผ่นดิน เพื่อการลงทุนในโครงการต่าง ๆ รัฐบาลต้องใช้เงินอุดหนุนกิจการสาธารณูปการต่าง ๆ รายจ่ายภาครัฐบาล จึงอยู่สูงขึ้นอย่างรวดเร็วเกินกว่าความสามารถที่จะหารายได้ได้ทัน

ผลการใช้แผน

3. ด้านกระจายรายได้และบริการสังคม

  • การลดอัตราการเพิ่มของประชากรให้เหลือร้อยละ 2.1 ต่อปี และสามารถทำได้ตามแผน
  • การกระจายรายได้และบริการสังคม ยังไม่อาจกระจายได้เพียงพอและทั่วถึง โดยเฉพาะอย่างยิ่งประชากรในเขตชนบทล้าหลัง
  • ประชากรในเขตชนบทตามภูมิภาคต่างๆของประเทศ มีฐานะยากจน ประสบปัญหาความอดอยาก ขาดแคลนบริการฟื้นฐานในการดำรงชีวิต และมีโรคภัยไข้เจ็บ