Introducing
Your new presentation assistant.
Refine, enhance, and tailor your content, source relevant images, and edit visuals quicker than ever before.
Trending searches
ความสามารถในการออกกำลังกาย:
ช่วยเหลือตนเองไม่ได้ ในเรื่อง การรับประทานอาหาร/แปรงฟัน/อาบน้ำ/เดิน/ขับถ่าย
ข้อ: ปกติ
การเคลื่อนไหวข้อ: ปกติ
กำลังของกล้ามเนื้อ: อ่อนแรง ระดับ 4 เคลื่อนไหวข้อ & ต้านแรงของผู้ตรวจได้บ้าง
ลักษณะการหายใจ:
ลักษณชีพจร:
หัวใจ:
สมาชิกกลุ่ม 1/6
นางสาว สุชาดา มะดะเรส Student ID No.191402060
นางสาว วัชราภรณ์ พรรณวิไล Student ID No.191402042
นางสาว วิภาวดี ศรีอินทร์ Student ID No.191402047
นางสาว สุวรรณี นพพิบูลย์ Student ID No.191402065
นาง โสภา ยะโส Student ID No.191402068
นางสาว อรุณรัตน์ ปรีหะจินดา Student ID No.191402073
นางสาว พัชยา ตระการจันทร์ Student ID No.191402088
HN: 56-05186
ผู้ป่วยหญิงไทย อายุ 91 ปี
พบแพทย์
ตรวจร่างกาย
อาการสำคัญที่มาโรงพยาบาล: เท้าซ้ายบวมแดง
ตัวร้อนมีไข้ต่ำ ทานยาพาราเองตอนเช้า
เวลา 07.40 น.
ตรวจเท้าข้่างซ้าย บวมแดง
ผลตรวจเลือด
WBC 14,560H ,Neu% 91.1H,
Lym% 6.2L,PT 30.6H,K 3.0 L,
Albumin 1.4 L
Discharge เท้า (Lt) Streptococcus dysgalatiae ssp dysalactiae_Rare:
คำแนะนำ
- ดูแลรักษาความสะอาดของร่างกาย ไม่ให้เกิดแผลซ้ำ
- รักษาสุขภาพให้แข็งแรง
-หลีกเลี่ยงไปในสถานที่ที่มีเชื้อโรคแออัด
แผนการรักษา ให้ยาปฏิชีวนะ
Monem 1 mg ,
KCL 15 cc.
Human Albumin 50 ML
Levofloxacin 750 mg
Cefotaxime 2 g
Dressing แผล ทุกวัน
Dx.
Cellulitis
เท้าซ้าย
พยาธิสภาพ ภาวะติดเชื้อบริเวณ ผิวหนัง
หรือเนื้อเยื่อใต้ผิวหนังส่งผลให้มี
อาการบวมแดง ปวด หรือร้อนบริเวณ
ที่ติดเชื้อ บางรายอาจะมีไข้ หรืออาการ
อื่นๆ ร่วมด้วย แต่ในกรณีที่รุนแรง การติดเชื้ออาจแพร่
กระจายสู่กระแสเลือดและเป็นอันตราย
ถึงชีวิตได้ ส่วนมากเป็นที่ขา
การวางแผนการช่วยเหลือ
- ลดอาการปวด บวม แดง ที่ ขาซ้าย
-ช่วยเหลือกิจวัตรประจำวัน
- ลดการติดเชื้อของแผล
- เพิ่ม Potassium -สวน Cath PRN
ชื่อ: ผู้ป่วยหญิงไทย อายุ 91 ปี
HN: 56-05186 Admitted from: สถาบัน หัวใจ
มาถึงโดย: รถนอน
วันที่เข้ารับการรักษา: 1 กันยายน 2563
สัญญาณชีพแรกรับ/Vital sing: Temperature 37.8 °c Pulse 74 ครั้ง/นาที
Respiration 20 ครั้ง/นาที Blood Pressure 150/90 mmHg Sat 96%
การวินิจฉัยโรค: Cellulitis เท้า(Lt)
อาการสำคัญที่มาโรงพยาบาล: เท้าข้างซ้ายบวมแดง ตัวร้อนมีไข้ต่ำ 37.8 °c ทานยาพาราเองตอนเช้า
เวลา 07.40 น.
ประวัติเจ็บป่วยปัจจุบัน: 1วันก่อนมา คนไข้ ดูซึม มีไข้ต่ำ ๆ ตอนเช้า เท้าซ้ายบวมแดง
ตัวร้อนให้กินพาราเอง 07.00 น. เท้ากดเจ็บ Pain score 5-6.
ปวด คะแนนความเจ็บปวด: 5-6 (ปวดปานกลาง)
ตำแหน่ง: เท้า ซ้าย
วิธีบรรเทาอาการเจ็บปวดที่ผู้ป่วยใช้: ใช้ยา Para
ลักษณะความเจ็บปวด: ปวดเวลามี activity
ความถี่ของความเจ็บปวด: ปวดเป็นระยะ
ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต: Atrial fibrillation (AF),Hypertension (HT)
รักษาโดย: มาโรงพยาบาล
อุบัติเหตุ: ปฏิเสธ
ประวัติแพ้ยา: ปฏิเสธ
การผ่าตัด: ปฏิเสธ
ผู้ให้ข้อมูล: ครอบครัว ประวัติเดิม
ประวัติสุขภาพครอบครัว: โรคทางพันธุกรรม โรคติดต่อ
คนไข้มีอาการง่วง ซึม รู้สึกตัวเล็กน้อย เท้าข้างซ้ายบวมแดง ตัวร้อนมีไข้ต่ำ 37.8 °c
1.การรับรู้และการดูแลสุขภาพ
ในระยะ 1 ปีที่ผ่านมาสุขภาพของผู้ป่วย: เป็นหวัดบ่อย
การดูแลตัวเองเมื่อเจ็บป่วย: ไปโรงพยาบาล
ยาที่ใช้ประจำ: Enapril 5 mg, Ofarin 3 mg
บุหรี่: ไม่สูบบุหรี่
สุรา: ไม่ดื่ม
รับประทานอาหารวันละ: 3 มื้อ/ตรงเวลา
ความอยากอาหาร: ปกติ
น้ำหนัก: 50.2 กก. ส่วนสูง: 155 ซม.
การเปลี่ยนแปลงของน้ำหนัก: ปกติ
ดื่มน้ำ(รวมเครื่องดื่ม): ดื่มน้ำปกติไม่จำกัดน้ำ ดื่มน้ำ 6-8 แก้ว ต่อวัน
เยื่อบุช่องปาก/ปาก/เหงือก/ฟัน: ไม่ปกติ มีฟันผุ ฟันปลอม
เยื่อบุตา: ปกติ เปลือกตา: ปกติ ผิวหนัง: ปกติ เล็บ ปกติ
ต่อมน้ำเหลือง (คอ รักแร้ ขาหนีบ) ไม่โต
การถ่ายอุจาระ: ปกติ การใช้ยาระบาย: ไม่ใช้
รูเปิดทางหน้าท้อง: ไม่มี
การขับถ่ายปัสสาวะ: สวน Cath PRN
ปัญหาการขับถ่ายปัสสาวะ: มี
ความสามารถในการออกกำลังกาย:
ช่วยเหลือตนเองไม่ได้ ในเรื่อง การรับประทานอาหาร/แปรงฟัน/อาบน้ำ/เดิน/ขับถ่าย
ข้อ: ปกติ
การเคลื่อนไหวข้อ: ปกติ
กำลังของกล้ามเนื้อ: อ่อนแรง ระดับ 4 เคลื่อนไหวข้อ & ต้านแรงของผู้ตรวจได้บ้าง
ลักษณะการหายใจ: ปกติ 20 ครั้ง/นาที
ลักษณชีพจร: ปกติ 74 ครั้ง/นาที
หัวใจ: ผิดปกติ ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ (AF)
อุปนิสัยการนอน ปกตินอนวันละ 12 ชั่วโมง การนอนกลางวัน 5-6 ชั่วโมง
ปัญหาการนอนไม่หลับ: ไม่มี
การใช้ยานอนหลับ: ไม่มี
การรรับรู้บุคคลเวลาและสถานที่: ปกติ
การรับรู้ทางประสาทและการตอบสนอง ระดับรู้สึกตัว: ง่วงซึม
การมองเห็น: ตามัว การได้ยิน: ผิดปกติ (หูตึง) ความจำและโต้ตอบ: หลงลืม
ความเจ็บปวด: ระดับ 5-6 (ปานกลาง)
อาชีพปัจจุบัน: ไม่มี
รายได้: เพียงพอ
ความเจ็บปวดมีผลต่อ ครอบครัว/อาชีพ/การเรียน: มี ครอบครัววิตกกังวล
บทบาทและความรับผิดชอบในครอบครัว: สมาชิกครอบครัว
ความรับผิดชอบในการหารายได้ของครอบครัว: ไม่ต้องรับผิดชอบ
จำนวนสมาชอกในครอบครัวที่ต้องรับผิดชอบ: ไม่มี
ผู้ให้ความช่วยเหลือขณะป่วย: มี บุตร บุตรหลาน
ราบรื่น รักใคร่กัน
ผู้ป่วย/ญาติ สามารถที่จะดูแลตนเอง ขณะเจ็บป่วยที่บ้านได้: สามารถ
*ผู้ป่วย/ญาติมีกำลังใจ/สามารถที่จะจัดการสิ่งต่างๆ ด้วยตนเอง: มีระดับ
6-8 มีพลังอำนาจปานกลาง และต้องพึ่งพาคนอื่นหรือความช่วยเหลือจากพยาบาลในบางเหตุการณ์ที่ไม่มั่นใจว่าจะทำได้ด้วยตนเอง
การตัดสินใจเรื่องสำคัญ: ให้ผู้อื่นตัดสินใจให้
สิ่งที่ทำให้เครียดไม่สบายใจ: ความเจ็บป่วย
วิธีแก้ไขความเครียดเมื่อไม่สบายใจ: ระบายให้ผู้อื่นฟัง
นับถือศาสนา: พุทธ
สิ่งที่ยึดเหนี่ยวจิตใจขณะป่วย: ครอบครัว/ศาสนา
ความต้องการปฏิบัติตามความเชื่อขณะเจ็บป่วย: ไม่ต้องการ
การรักษาพยาบาลขัดแย้งความเชื่อของท่าน: ไม่ขัดแย้ง
พยาธิสภาพของโรค
พยาธิสภาพของผู้ป่วย
Cellulitis (เซลล์เนื้อเยื่ออักเสบ) คือ ภาวะติดเชื้อบริเวณ
ผิวหนังหรือเนื้อเยื่อใต้ผิวหนังส่งผลให้มีอาการบวมแดง ปวด
หรือร้อนบริเวณที่ติดเชื้อ บางรายอาจะมีไข้ หรืออาการอื่นๆ ร่วมด้วย แต่ในกรณีที่รุนแรง การติดเชื้ออาจแพร่กระจายสู่
กระแสเลือดและเป็นอันตรายถึงชีวิตได้ ซึ่งภาวะนี้สามารถเกิด
ได้ทุกส่วนของร่างกาย แต่มักเกิดบริเวณขา โดยสาเหตุส่วน
ใหญ่มาจากการติดเชื้อแบคทีเรีย ที่อาจเข้าสู่ร่างกายผ่านทาง
แผล รอยแตกหรือผิวหนังที่บอบบาง
พยาธิสภาพของโรค
พยาธิสภาพของผู้ป่วย
อาการของผู้ป่วย
อาการของ Cellulitis คือ บริเวณที่ติดเชื้อจะมี อาการ
บวม แดง และมีแนวโน้มขยายเป็นบริเวณกว้างรวมทั้ง
อาจมีอาการอื่น ๆ ร่วมด้วย ดังนี้
รวดเร็ว ภายใน 1-2 วัน
เจ็บเมื่อถูกกดหรือสัมผัสโดนบริเวณนั้น
ขยายตัวลุกลามไปอย่างรวดเร็ว
ทั้งนี้ หากมีอาการต่อไปนี้ร่วมกับอาการข้างต้น ควรรีบไปปรึกษาแพทย์โดยเร็ว เพราะเชื้ออาจแพร่
กระจายสู่ส่วนอื่น หรืออาจเข้าสู่กระแสเลือดจนเป็น
อันตรายถึงชีวิตได้
พยาธิสภาพของโรค
พยาธิสภาพของผู้ป่วย
Discharge เท้า (Lt) Streptococcus dysgalatiae ssp dysalactiae_Rare:
สาเหตุของ Cellulitis
Cellulitis เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรีย ชนิดที่พบได้บ่อย
คือ สเตรปโทคอกคัส (Streptococcus) และ สแตฟิโลค็อกคัส (Staphylococcus) เชื้อเหล่านี้สามารถเข้าสู่ร่างกาย ผ่านทาง
ผิวหนัง ที่เกิดรอยแยกหรือรอยแตก เช่น ผิวหนังแห้งแตกจาก
สภาพอากาศหรือมีผิวบอบบาง มีสิ่งแปลกปลอมเข้าไปในแผล
มีรอยแผลจากการผ่าตัด ถูกแมลงหรือสัตว์กัด เป็นต้น
ซึ่งบางครั้งรอยแตกนั้นอาจเล็กเกินกว่าจะสังเกตเห็นหรือรู้สึกได้
ทำให้ผู้ป่วยไม่ทันได้ระวังตัวจนเป็นเหตุให้เชื้อโรคเข้าสู่ร่างกายได้ง่ายขึ้น โดย Cellulitis ไม่ใช่โรคติดต่อ เพราะเป็นการติดเชื้อที่
ผิวหนังชั้นใน จึงไม่สามารถรับเชื้อมาจากผู้อื่นได้
ปัจจัยเสี่ยงอื่น ๆ ที่อาจทำให้เกิด Cellulitis ได้ มีดังนี้
เช่น มีรอยตัด รอยแตก แผลไฟไหม้ เป็นต้น
แขนและขาไม่เพียงพอ เส้นเลือดขอด ระบบน้ำเหลืองไหลเวียนไม่ดี
เป็นต้น
พยาธิสภาพของผู้ป่วย
พยาธิสภาพของโรค
การวินิจฉัย Cellulitis
สำหรับการวินิจฉัย Cellulitis นั้น แพทย์สามารถทำ
ได้โดยซักประวัติ ตรวจร่างกายทั่วไป และ ตรวจดูบริเวณ ที่มีอาการโดยบางกรณีอาจมีการตรวจเพิ่มเติมด้วย
การเอกซเรย์ หาสิ่งแปลกปลอม บริเวณที่เกิดอาการ การตรวจเลือดดู การติดเชื้อ และ การเจาะนำตัวอย่าง
ของเหลวในบริเวณที่เกิดอาการไปตรวจ ในห้องปฏิบัติการ
WBC 14,560 H
Neu% 91.1 H
Lym% 6.2 L
PT 30.6 H
FBS 113 H
K 3.0 L
Albumin 1.4 L
Discharge เท้า (Lt) Streptococcus dysgalatiae ssp dysalactiae_Rare:
พยาธิสภาพของผู้ป่วย
พยาธิสภาพของโรค
การรักษา Cellulitis
-Monem 1 mg
-KCL 15 cc.
-Human Albumin 50 ML
-Levofloxacin 750 mg
-Cefotaxime 2 g
ในเบื้องต้น แพทย์จะให้ยาปฏิชีวนะชนิด รับประทานตาม
ความรุนแรงของอาการ แรกเริ่มอาจให้ รับประทานยา
ประมาณ 7-14 วัน แต่หากผู้ป่วยที่มีอาการรุนแรงอาจต้อง
รับประทานยานานกว่านั้น โดยแพทย์จะคอยดูแลอาการ
ควบคู่ไปด้วย ซึ่งผู้ป่วยมักมีอาการดีขึ้นหลังจากได้รับยา
ภายใน 2-3 วัน แต่หากอาการไม่ดีขึ้น มีปัญหาสุขภาพอื่น ๆ หรือมีไข้สูงร่วมด้วย ผู้ป่วยอาจต้องรับยาปฏิชีวนะ ชนิดฉีด
เข้าเส้นเลือดโดยตรง พร้อมทั้งเข้ารักษาตัวที่โรงพยาบาล
เพื่อให้แพทย์ดูแลอาการอย่างใกล้ชิด
ที่มีอาการ
นอกจากนี้ ผู้ป่วยอาจบรรเทาอาการด้วยตนเองที่บ้านควบคู่
ไปกับการรักษาจากแพทย์เพื่อช่วยให้อาการหายเร็วขึ้น
โดยอาจปฏิบัติตามคำแนะนำ ดังนี้
หรือนั่ง เพื่อลดอาการบวมโดยอาจใช้หมอนรองไว้บริเวณที่มีอาการ
เพื่อบรรเทาอาการปวด
อาการข้อฝืด เช่น ข้อเท้า ข้อมือ หัวเข่า เป็นต้น
พยาธิสภาพของผู้ป่วย
พยาธิสภาพของโรค
ภาวะแทรกซ้อนของ Cellulitis
หากเกิดภาวะ Cellulitis แล้วไม่ได้รับการรักษาทันเวลา
ชื้อดังกล่าวอาจแพร่กระจายไปยังส่วนต่างๆ ของร่างกาย
อาจเกิดการติดเชื้อลามเข้าไปยังเนื้อเยื่อชั้นใน จนทำให้
เกิดภาวะ แบคทีเรียกินเนื้อ ซึ่งถือเป็นภาวะร้ายแรงที่แม้พบ
ได้น้อยมาก แต่หากกลับมาเป็นซ้ำอีกก็สามารถส่งผลกระทบ
กับระบบระบายน้ำเหลือง และทำให้แขนขาบวมแบบเรื้อรัง
ได้ นอกจากนี้ Cellulitis อาจทำให้เกิด ผลกระทบอย่าง
รุนแรง และถึงขั้นเสียชีวิตจากการติดเชื้อได้ เช่น
เนื้อเยื่อตาย ติดเชื้อในกระแสเลือด ติดเชื้อในกระดูก เป็นต้น
พยาธิสภาพของผู้ป่วย
พยาธิสภาพของโรค
การป้องกัน Cellulitis
เล็บและป้องกันการเกิดแผลจากการเกา
เกิดโรคได้ง่ายควรระมัดระวังไม่ให้เกิดบาดแผลตามผิวหนัง
โดยทั่วไปอาจลดความเสี่ยงของภาวะ Cellulitis ได้โดยการดูแลสุขอนามัยของร่างกายและผิวหนัง เช่น
ทำให้เกิดแผลได้โดยเฉพาะผู้ที่เป็นโรคผิวหนังมักจะมีความ
เสี่ยงที่จะได้รับเชื้อมากขึ้น
ชุ่มชื้นและไม่เสี่ยงต่อการแห้งแตกจนทำให้เชื้อโรคสามารถ
เข้าสู่ร่างกายได้
ครั้งที่ทำกิจกรรมต่าง ๆ เช่นทำงานที่เกี่ยวข้องกับ อุปกรณ์
แหลมคม เล่นกีฬาที่มีการปะทะ เป็นต้น
น้ำสะอาดทุกวัน โดยใช้ผ้าพันแผลหรือพลาสเตอร์สะอาดปิด
แผลไว้ เพื่อป้องกันเชื้อโรคเข้าสู่ร่างกาย
ง่าย ควรระมัดระวังไม่ให้เกิดบาดแผลตามผิวหนัง
2/9/2563
5/9/2563
6/9/2563
7/9/2563
วันที่ 14/9/2563 Discharge เท้า (Lt) Streptococcus dysgalatiae ssp dysalactiae_Rare:
1.Enalapril
ชื่อยาทั่วไป: Enalapril (อีนาลาพริล)
ชื่อการค้า/ผู้ผลิต: Enalapril / Berlin
ข้อบ่งใช้: 1. ใช้ควบคุมความดันโลหิต โดยใช้เดี่ยวๆ หรือใช้ร่วมกับยาลดความดันโลหิตตัวอื่น โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ยาขับปัสสาวะ
2. ใช้ใน congestive heart failure (CHF) ขนาดปกติโดยทั่ว ไปใช้วันละ 10-40 มิลลิกรัม
จะลดความดันโลหิตได้ ทั้งขณะหัวใจบีบตัวหรือคลายตัว โดยให้ครั้งเดียวหรือแบ่ง ให้วันละ 2 ครั้งในผู้ป่วยที่่ไตทำงาน
ไม่ดีควรลดขนาดยาลงปรับขนาดยาตามค่า creatinine clearance
เหตุผลที่ใช้ยา: ควบคุมความดันโลหิตสูง
2.ORFARIN 3 MG.
ชื่อสามัญ: WARFARIN [SODIUM]
ชื่อการค้า: ORFARIN 3 MG.
รูปแบบยา: ยาเม็ด
ข้อบ่งใช้: ยานี้ใช้เพื่อป้องกันการเกิดและการขยายตัวของลิ่มเลือดในผู้ป่วยที่เคยได้รับการผ่าตัดเปลี่ยนลิ้นหัวใจ ผู้ที่มีปัญหาหัวใจเต้นไม่ปกติ หรือมีภาวะหัวใจวาย หรือใช้เพื่อป้องกันการเกิดภาวะลิ่มเลือดอุดหลอดเลือดดำ (venous thrombosis) หรือภาวะลิ่มเลือดอุดหลอดเลือดที่ปอด (pulmonary embolism)
ยานี้อาจใช้เพื่อรักษาโรคหรืออาการอื่นๆได้ หากมีข้อสงสัยควรปรึกษาแพทย์หรือเภสัชกร
เหตุผลของการใช้ยา: ลดภาวะการแข็งตัวของเลือด และควบคุมการเกิดลิ่มเลือด
3.monem 1 GM inj.
ชื่อสามัญ: Meropenem (เมอโรพีเนม)
ชื่อทางการค้า: PENEM®
ข้อบ่งใช้: เป็นยาปฏิชีวนะกลุ่มคาร์บาพีเนม มีฤทธิ์ต้านเชื้อแบคทีเรียในร่างกาย ใช้รักษาหรือป้องกันโรคที่เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรีย เช่น เยื่อหุ้มสมองอักเสบ การติดเชื้อที่ผิวหนังหรือเยื่อบุช่องท้อง และโรคซิสติกไฟโบรซิส โดยยานี้ไม่สามารถรักษาโรคที่เกิดจากการติดเชื้อไวรัสได้ แต่อาจใช้รักษาโรคอื่น ๆ นอกเหนือจากนี้ตามดุลยพินิจของแพทย์
เหตุผลของการใช้ยา: ฆ่าเชื้อแบคทีเรีย
ชื่อสามัญ: Levofloxacin (ลีโวฟลอกซาซิน)
ชื่อทางการค้า: Cravit
ข้อบ่งใช้ : เป็นยาในกลุ่มยาปฏิชีวนะ มีฤทธิ์ในการต่อสู้และยั้งยับเชื้อแบคทีเรียภายในร่างกาย โดยยาดังกล่าวมักใช้รักษาอาการติดที่ผิวหนัง ไซนัส ไต กระเพาะปัสสาวะ ต่อมลูกหมาก และรักษาอาการหลอดลมอักเสบ หรือปอดบวม อีกทั้งยังใช้ในการรักษาและป้องกันโรคแอนแทรกซ์อีกด้วย ยาชนิดนี้มีทั้งแบบชนิดรับประทาน ชนิดยาฉีด และยาหยอดตา
เหตุผลของการใช้ยา: ฆ่าเชื้อแบคทีเรีย
ชื่อสามัญ: Cefotaxime (เซโฟแทกซีม)
ชื่อทางการค้า: FOTAX
ข้อบ่งใช้: เป็นยาปฏิชีวนะในกลุ่มเซฟาโลสปอริน (Cephalosporins) ออกฤทธิ์โดยฆ่าหรือยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อแบคทีเรีย ใช้รักษาการติดเชื้อจากแบคทีเรียในร่างกาย เช่น การติดเชื้อที่กระดูกและข้อต่อ การติดเชื้อที่ระบบประสาทส่วนกลาง การติดเชื้อที่ระบบทางเดินปัสสาวะ เป็นต้น และยังอาจใช้ในการป้องกันการติดเชื้อจากการผ่าตัดอีกด้วย
เหตุผลของการใช้ยา: ฆ่าเชื้อแบคทีเรีย
6.Human Albumin inj.(20% 50 ML)
ชื่อสามัญ: Human Albumin (ฮิวแมน อัลบูมิน)
ชื่อทางการค้า: ALBUMIN 20 TRCS,Biotest Pharma GmbH. Germany
ข้อบ่งใช้: รักษาภาวะโปรตีนในเลือดต่ำ หรือสูญเสียเลือดเนื่องจากอาการอื่น ๆ
เหตุผลของการใช้ยา: เพื่อรักษาภาวะโปรตีนในเลือดต่ำ
ชื่อสามัญ: โปแตสเซียมคลอไรด์ (Potassium Chloride)
ชื่อทางการค้า:
ข้อบ่งใช้: ภาวะโปแตสเซี่ยมในร่างกายต่ำา (Hypokalemia)
อาการทางคลินิกที่ส้าคัญของผู้ป่วยที่มีภาวะโพตัสเซี่ยมในร่างกายต่้าได้แก่
1. อ่อนเพลีย
2. เป็นตะคริว
3. กล้ามเนื้ออ่อนแรง
4. จังหวะการเต้นของหัวใจผิดปกติ (EKG แสดง sagging ST segments,
depression ของ T wavesและ Elevated U waves)
เหตุผลการใช้ยา: เพิ่มค่า Potassium ในร่างกายให้ปกติ
ชื่อสามัญ: Paracetamol
ชื่อทางการค้า: บู๊ทส์ พาราเซตามอล (Boots paracetamol), ไบโอเจสิก (Biogesic), คาลปอล (Calpol), ซีมอล (Cemol), ดาก้า (Daga), มาซาพารา (Masapara), มายพารา (Mypara), พานาดอล (Panadol), พาราแคพ/พาราแคป (Paracap), พาราเซต (Paracet)
ข้อบ่งใช้: เป็นยาที่ใช้เพื่อบรรเทาอาการปวดและช่วยลดไข้ โดยนิยมใช้เพื่อรักษาอาการปวดทั่วไป อาการปวดศีรษะ หรือไข้หวัดใหญ่ ทั้งนี้ ยาพาราเซตามอลยังสามารถใช้เพื่อบรรเทาอาการปวดของโรคข้ออักเสบได้อีกด้วย โดยยาชนิดนี้จัดเป็นยาสามัญประจำบ้านเพราะสามารถใช้ได้โดยไม่ต้องมีใบสั่งยาของแพทย์ แต่ต้องใช้ในปริมาณที่เหมาะสม
เหตุผลทางการใช้ยา: ใช้ลดอาการปวดที่ไม่รุนแรงและลดไข้
ปัญหาที่ 1 Infection
การติดเชื้อที่แผล บริเวณเท้าซ้าย
ข้อมูลสนับสนุน
เท้าข้างซ้าย มีการติดเชื้อ
วัตถุประสงค์
ไม่ติดเชื้อ , ไม่มีไข้
เกณฑ์การประเมิน
ไม่มีไข้ อุณภูมิต่ำกว่า 37.5 องศา , ขาซ้ายไม่บวมแดง ร้อน
กิจกรรมการช่วยเหลือ
วัดไข้ทุก 4 ชั่วโมง , ให้ยาฆ่าเชื้อ Monem 1 mg, Levofloxacin 750 mg และ Cefotaxime 2 g
การประเมิน
ไม่มีไข้ ,ขา ข้างซ้าย บวมแดง ลดลง
ปัญหาที่ 2 Pain
ข้อมูลสนับสนุน
กดบริเวณขาข้างซ้าย เจ็บ Pain 5-7
ผู้ป่วย มีอาการปวดบริเวณ แผลที่ติดเชื้อ (ขาถึงเท้าด้านซ้าย)
วัตถุประสงค์
ไม่ปวดหรือปวดน้อยลง
เกณฑ์การประเมิน
Pain score <3 ,Ambulate คนไข้
กิจกรรมการช่วยเหลือ
ให้ยาแก้ปวด Para , ช่วยขยับพลิกตะแคงตัวคนไข้ทุก 2 ชั่วโมง ไม่ให้นอนท่าเดียวนานๆ , วางขาข้างซ้ายบนหมอน
การประเมิน
คนไข้ปวดน้อยลง Pain score จาก 5-6 ลดลงเหลือ 2-3
ปัญหาที่ 3 Self care deficit
ข้อมูลสนับสนุน
ผู้ป่วยช่วยเหลือตัวเองไม่ได้
ผู้ป่วยบกพร่องการดูแลช่วยเหลือตัวเอง
วัตถุประสงค์
ให้ผู้ป่วยได้รับการช่วยเหลือกิจวัตรประจำวัน
เกณฑ์การประเมิน
ผู้ป่วยช่วยเหลือตัวเองได้บ้าง,ได้รับการช่วยเหลือในกิจวัตรประจำวัน
กิจกรรมการช่วยเหลือ
แนะนำญาติผู้ป่วยให้คอยกระตุ้นให้ผู้ป่วยได้ขยับตัว คอยช่วยเหลือผู้ป่วยเวลารับประทานอาหาร/แปรงฟัน เป็นต้น
พยาบาลช่วยเหลือ เช็ดตัว ดูแลความสะอาด ของผู้ป่วย
การประเมิน
ผู้ป่วยได้รับการช่วยเหลือกิจวัตรประจำวัน
ข้อมูลสนับสนุน
ผู้ป่วยอ่อนแรง ซึม
ปัญหาที่ 4 Hypokalemia
มีโพแทสเซียมต่ำ ผู้ป่วยแขนขาอ่อนแรง ซึม นอนหลับเป็นส่วนใหญ่
วัตถุประสงค์
ให้ค่า โพแทสเซียมปกติ 3.5-5.5
เกณฑ์การประเมิน
ค่า K ปกติ 3.5-5.5 ,
ไม่มีซักกระตุก ไม่มีกล้ามเนื้ออ่อนแรง
กิจกรรมการช่วยเหลือ
ให้ยา ECKL 15 cc x 3 dose
การประเมิน
ค่า Potassium 3.5 ระดับปกติ
ปัญหาที่ 5 Bladder full
ผู้ป่วยซึม ไม่มีแรงเบ่งปัสสาวะเองเนื่องจากเจ็บแผล
ข้อมูลสนับสนุน
ผู้ป่วยปัสสาวะออกน้อย ,
ผู้ป่วยไม่ปัสสาวะ 6 ชั่วโมง
วัตถุประสงค์
No Bladder full
เกณฑ์การประเมิน
void เองได้ ไม่มี ฺBladder full
กิจกรรมการช่วยเหลือ
สวน Cath PRN
การประเมิน
void เองได้ ไม่มี ฺBladder full
นวัตกรรม “วาสลีนก๊อซขมิ้นชัน”
รักษาบาดแผล อำเภอกบินทร์บุรี และอำเภอศรีมหาโพธิ จังหวัดปราจีนบุรี
จากการวิจัย ด้านการรักษาแผลด้วยวาสลีนก๊อซขมิ้นชัน ซึ่งมีสรรพคุณต้านเชื้อแบคทีเรียลดการอักเสบสมานแผล ลดความเจ็บปวด มาใช้ในการรักษาผู้ป่วยแผลเรื้อรัง ผลการศึกษาพบว่าหลังการใช้ครีมขมิ้นชัน ผลปรากฏว่าผู้ป่วย ทุกคนใช้ระยะเวลาใน การรักษาประมาณ3วันแผลมีความชุ่มชื้นมีการสร้างเนื้อเยื่อใหม่ของแผล ให้กระบวนการหายของแผลดี
ขึ้นไม่พบการติดเชื้อของแผล แผลไม่เกิดเนื้อตาย เมื่อปิดแผลด้วยครีมขมิ้นชัน และไม่พบอาการข้างเคียงของการใช้
ครีมขมิ้นชัน การใช้วาสลีนก๊อซขมิ้นชันในการรักษาบาดแผลติดเชื้อช่วยให้อัตราการหายของแผลเร็วขึ้นกว่าการไม่ใช้
วาสลีนก๊อซขมิ้นชัน
ภาพที่ 1: การใช้วาสลีนกอซขมิ้นชันรักษาบาดแผลผู้ป่วย
ภาพที่ 2: การผลิตวาสลีนกอซขมิ้นชันโดยทีมสหวิชาชีพ
และแพทย์แผนไทย
ภาพที่ 3:
ผลิตภัณฑ์วาสลีนกอซขมิ้นชันที่ผ่านการน่ึงฆ่าเชื้อที่ห้อง Supply
โรงพยาบาลกบินทร์บุรี
ผู้ป่วยหญิงไทย อายุ91 ปี HN.56-05186 Admitted from สถาบัน หัวใจ มาถึงโดย รถนอน สัญญาณชีพแรกรับ
T= 37.8 °c P= 74 ครั้ง/นาที R= 20 ครั้ง/นาที BP=150/90 mmHg Sat 96% (Room air) อาการสำคัญที่มาโรงพยาบาล เท้าบวมแดง ตัวร้อนมีไข้ต่ำ ทานยาพาราเองตอนเช้า เวลา 07.40 น. ประวัติเจ็บป่วยปัจจุบัน 1วันก่อนมา ผู้ป่วยดูซึม มีไข้ต่ำ ๆ ตอนเช้า เท้าบวมแดง ตัวร้อนกินพาราเอง 07.40 น. เท้ากดเจ็บ Pain score 5-6 แพทย์ ซักประวัติและ ตรวจร่างกาย เท้าข้างซ้ายบวมแดง สั่งตรวจเลือด CBC ผลเลือด WBC 14,560 H, Neu% 91.1 H, Lym% 6.2 L,PT 30.6 H, FBS 113 H,
K 3.0 L, Albumin 1.4 L แพทย์ Dx.Cellulitis เท้า(Lt) รักษาโดย ให้ยา Monem 1 GM , Human Albumin 50 ML, KCL 10% Solution 60 ML ต่อมาแพทย์ ส่ง Discharge เพาะเชื้อตรวจเจอ Streptococcus สั่ง off Monem ให้ใช้ยา Levofloxacin 750 mg และ Cefotaxime 2 g สรุปการวางแผนดูแลช่วยเหลือ ลดอาการปวด บวม แดง ที่ ขาซ้าย, ช่วยเหลือกิจวัตรประจำวัน, ลดการติดเชื้อของแผล, เพิ่ม Potassium, สวน Cath PRN
เพราะเป็นเคสที่น่าสน จากการที่สมาชิกในกลุ่มได้สังเกตุเห็น การเปลี่ยนแปลง ของแผลในแต่ละวัน ทำให้ อยากศึกษา พยาธิสภาพของโรคนี้ ทั้งได้ติดตามผลการรักษา ในแต่ละวันจึงเป็นเคสที่น่านำเสนอ
ประโยชน์ที่ได้รับ
“ได้รู้พยาธิสภาพของโรคนี้ และรู้วิธีการป้องกันรวมถึงการรักษา ยาที่ใช้รักษาโรค celluliti
1.pobpad.(2020).cellulitis,สืบค้นเมื่อ 12 กันยายน 2563.จาก.https://www.pobpad.com//cellulitis-เซลล์เนื้อเยื่ออักเสบ
2.paphayomhospital.(2020).Enalapril,สืบค้นเมื่อ 12 กันยายน 2563.จาก.http://www.paphayomhospital.go.th/medicine/file/Enalapril%20.pdf
3.yaandyou.(2020).Orfarin,สืบค้นเมื่อ 12 กันยายน 2563.จาก.http://www.yaandyou.net/index_result.php#
4.รพสต. วังท่าช้าง อำเภอบินทร์บุร์.นวัตกรรมแผลติดเชื้อ,สืบค้นเมื่อ 20 กันยายน 2563.จาก.https://he02.tci-thaijo.org/index.php/MDHJ/article/download/181116/133640/