Introducing
Your new presentation assistant.
Refine, enhance, and tailor your content, source relevant images, and edit visuals quicker than ever before.
Trending searches
ไม่สุขสบายเนื่องจาก มีอาการปวดเมื่อย
กล้ามเนื้อ
เพื่อลดความวิตกกังวล
1. ผู้ป่วยหน้าตาแจ่มใส
2. ผู้ป่วยอธิบายเรื่องเกี่ยวกับโรคได้ และปฏิบัติตนได้ถูกต้อง
1. อธิบายให้เข้าใจสภาพความเจ็บปวดของโรค และให้โอกาสได้ซักถามและระบายความคับข้องใจเกี่ยวกับอาการปวดหลัง
2.. เมื่ออาการปวดทุเลาลง หรือหาย ควรกระตุ้นให้มีการเคลื่อนไหวข้อที่มีอาการปวดเพื่อป้องกันข้อติดหรือผิดรูปและระมัดระวังเวลาเคลื่อนไหวร่างกาย เช่น ห้ามยกของหนักมาก
4. อธิบายให้เข้าใจเกี่ยวกับการตรวจรักษา ก่อนที่จะทำการตรวจ และรักษา เพื่อให้เข้าใจและให้ความร่วมมือในการตรวจรักษา
5. แนะนำเกี่ยวกับการปฏิบัติตัว เช่น การออกกำลังกาย หรือการบริหารกล้ามเนื้อบริเวณที่เคยมีอาการปวด ซึ่งจะทำ ให้กล้ามเนื้อแข็งแรง และป้องกันอาการปวด
วิตกกังวล เนื่องจากขาดความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับอาการปวดหลัง
S= "ไม่เคยตรวจสุขภาพประจำปี"
S= "ไม่มีเวลาออกกำลังกาย"
S= " นอนตอน 23.00 น. ตื่นตอนตี 3"
S="ขายก๋วยเตี๋ยวคนเดียว ไม่มีผู้ช่วย"
ส่งเสริมให้มีความตระหนักถึงการมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง
1.แสดงพฤติกรรมการสุขภาพได้ถูกต้อง เช่น นอนตอน 22.00 น.
2.ออกกำลังกายอย่างน้อยสัปดาห์ละ 2 ครั้ง
3.มีการตรวจสุขภาพประจำปี
1.ประเมินความรู้และความสนใจต่อการดูแล
สุขภาพตนเอง เพื่อวางแผนการพยาบาลได้เหมาะสม
2.สร้างความตระหนักถึวความสำคัญของการมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง โดยบอกถึงประโยชน์ของการออกกำลังกายและการพักผ่อนให้เพียงพอ เพื่อให้ร่างกายได้พักผ่อนและส่งเสริมให้แข็งแรง
3.คำนึงถึงอันตรายหรือผลเสียจองการไม่เคยไป
ตรวจสุขภาพประจำปี เพื่อป้องกันโรค
4.เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยถามถึงสิ่งที่ยังไม่เข้าใจ เพื่อให้ได้รับข้อมูลที่ถูกต้อง
พรศิริ พันธสี. (2558). กระบวนการพยาบาล เเบบเเผนสุขภาพ:การประยุกต์ใช้ทางคลินิก. พิมพ์ครั้งที่15. กรุงเทพ:พิมพ์อักษร.
เพ็ญจันทร์ สุวรรณแสงโมในยพงศ์ (2551). การวิเคราะห์ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการสำหรับพยาบาลฉบับปรับปรุงครั้งที่ 4 (พิมพ์ครั้งที่ 2.), กรุงเทพวีเจพริ้นติ้ง.
สภาการพยาบาล. (2550). แนวปฏิบัติการพยาบาลคลินิก: Clinical Nursing Practice Guidelines. กรุงเทพ: บริษัทจุตทอง จำกัด