Introducing 

Prezi AI.

Your new presentation assistant.

Refine, enhance, and tailor your content, source relevant images, and edit visuals quicker than ever before.

Loading…
Transcript

ยินดีต้อนรับผู้ปกครองและนักเรียน

ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2

ยินดีตอนรับสู่ห้องเรียน

ประถมศึกษาปีที่ 2

ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563

แนะนำ

คุณครู

ครูประจำชั้นประถมศึกษาปีที่ 2

น.ส. ภัทรสุดา จิรภิญโญชนม (ครูอิงอิง)

ครูประจำชั้น

Tel : 063-149-5945

Email : kruingingphumdham.com

ครูคู่ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2

ครูคู่ชั้น

นายวินิจชัย พลเดช (ครูบิ๊ก)

สอนวิชา : บูรณาการ ป.1 และ ป.2

พัฒนาการ

ตามช่วงวัย

พัฒนาการ

ตามช่วงวัย

สิ่งที่ทำได้ตาม

พัฒนาการ

ด้านฐานกาย

อายุ 6-7 ปี

  • เริ่มใช้ร่างกายได้อย่างคล่องแคล่ว
  • มีพัฒนาการของการใช้กล้าม เนื้อใหญ่และมัดเล็กได้ดี
  • สามารถทรงตัว และควบคุมร่างกายให้มั่นคง
  • ชอบเคลื่อนไหวร่างกายอยู่เป็นประจำ

อายุ 8 ปี

  • สามารถทรงตัวได้ดีขึ้น ใช้ร่างกายได้อย่างคล่องแคล่ว

เช่น การขี่จักรยาน 2 ล้อได้ดี ถือของได้หลายชิ้น

กระโดดขาเดียวได้หลายครั้ง กระโดดได้ไกลถึง 1.2 เมตร

เป็นต้น

ด้านอารมณ์

อายุ 6-7 ปี

  • มีความสุขที่ได้ทำกิจกรรมต่างๆ ด้านการเรียน การเล่น มีความสนใจและกระตือรือร้นทำงานที่ตนเองชอบ
  • ควบคุมอารมณ์ได้ดี มีเหตุผลของตนเอง
  • ยังคิดถึงแต่เรื่องที่เกี่ยวข้องอยู่ เช่น ความรู้สึกที่มีกับเพื่อน
  • มีความสนใจกิจกรรมในเวลาสั้นๆ แล้วเปลี่ยนไป ไม่สนใจว่างานจะสำเร็จหรือไม่
  • เป็นวัยที่สนุกสนาน สามารถดูแลตนเองได้ แต่บางครั้ง

จะยังมีการหลงลืม หรือ ขาดความรับผิดชอบ

ด้านอารมณ์

อายุ 8 ปี

  • มีความสนใจที่จะทำงานให้สำเร็จ สนใจที่จะทำสิ่งใหม่ๆ
  • มีสมาธิมากขึ้น รับฟังคำแนะนำในการทำงานมากขึ้น
  • มีความสามารถในการเล่นต่างๆ สามารถแสดงละครง่ายๆ
  • มีความอยากรู้อยากเห็น สนใจซักถามมากขึ้น

ด้านสังคม

อายุ 6-7 ปี

  • เริ่มให้ความสำคัญกับกลุ่มเพื่อน

รักเพื่อน รักพวกพ้อง

  • เพื่อนมีบทบาทสำคัญต่อทัศนคติ

และความคิดเห็น

  • เล่นด้วยกันเป็นกลุ่ม ไม่มีการแบ่งเพศ
  • ยอมรับกฏ กติกาของกลุ่ม

ลดการยึดถือตนเองเป็นศูนย์กลาง

ด้านสังคม

อายุ 8 ปี

  • มีเพื่อนสนิท
  • เริ่มมีการแบ่งกลุ่มกลุ่มเพื่อน
  • ยอมรับใน กฎเกณฑ์ หรือ กติกาของผู้ใหญ่ได้

ด้านสติปัญญา

อายุ 6-7 ปี

  • เริ่มเรียนรู้และมีประสบการณ์มากขึ้น
  • รู้จักใช้เหตุผลในการตัดสินใจ
  • เลือกทำในสิ่งที่ตนเองสนใจและมีความรับผิดชอบมากขึ้น
  • จดจำสิ่งที่เรียนรู้ได้อย่างแม่นยำ
  • เริ่มเรียงลำดับตัวเลข หรือ เหตุการณ์ต่างๆ ได้

แยกแยะประเภทสี หรือ สิ่งต่างๆ ได้มากขึ้น

ด้านสติปัญญา

อายุ 8 ปี

  • วัยแห่งการเรียนรู้
  • มีความสนใจและจดจ่อกับงานที่ได้รับมอบหมาย และหมกมุ่นจนกว่างานนั้นจะสำเร็จ
  • เข้าใจคำสั่งและตั้งใจทำงานให้ดีกว่าเดิม
  • วาดรูปสิ่งที่พบเห็นเป็นสัดส่วนและมีรายละเอียด
  • เขียนตัวหนังสือถูกต้อง เป็นระเบียบ
  • บอกเดือนของปีได้ สะกดคำง่ายๆได้
  • ฟังเรื่องราวแล้วเข้าใจเนื้อหาและขั้นตอนได้
  • เปรียบเทียบสิ่งที่เหมือนกัน และสามารถเข้าใจปริมาตร

เป้าหมายในการพัฒนาผู้เรียน

เป้าหมาย

การสร้างความภาคภูมิใจของตนเอง

การฝึกฝนทักษะพื่้นฐานของป.2

ทักษะการ

ดำรงชีวิต

ประจำวัน

ทักษะการเป็นคนดี

ทักษะการเอาตัวรอด

ทักษะสังคม

ทักษะการเรียนรู้

ฝึกความมุ่งมั่น พยายาม

ฝึกความมุ่งมั่น พยายาม

  • ฝึกให้เด็กตั้งเป้าหมายของตนเอง เพื่อให้เกิดแรงจูงใจและมีอิสระในการเลือก

และตัดสินใจพร้อมทั้งบันทึกความก้าวหน้า และตั้งเป้าหมายต่อไป

  • เปิดโอกาสให้เด็กได้ทำกิจกรรมที่หลากหลาย พัฒนาความสามารถและความถนัด
  • ฝึกการวางแผนด้วยตนเองจัดตารางกิจวัตรประจำวัน หรือ ทำตารางเวลา

จัดระดับความสำคัญสิ่งใดควรทำ ก่อน หลัง โดยมีผู้ใหญ่เป็นที่ปรึกษา

  • ฝึกให้ขวนขวายหาสิ่งต่างๆ ด้วยตนเอง เช่น การออมเงินเพื่อซื้อของที่อยากได้

ฝึกความมุ่งมั่น พยายาม

  • การมอบหมายงานหรือหน้าที่ ให้เด็กจะต้องไม่ยากเกินความสามารถ และก็ไม่ง่ายจนเกินไป เพื่อกระตุ้นให้เกิดการพัฒนา
  • การให้กำลังใจโดยผู้ปกครอง เพราะเมื่อเด็กเริ่มท้อแท้จากการทำงาน หรือ

จากเหตุการณ์อื่น ด้วยการปลอบโยนด้วยคำพูดเชิงบวก ไม่เปรียบเทียบกับคนอื่น

ถึงบางครั้งจะล้มเหลว ให้ชื่นชมในความพยายามมุ่งมั่น

การรักษา

ระเบียบวินัย

การรักษาระเบียบวินัย

  • การเป็นต้นแบบที่ดีให้แก่เด็กเรียนรู้ และฝึกฝนในการฝึกวินัย
  • การมีกติกาที่ชัดเจน ในการอยู่ร่วมกัน เช่น การเคารพตนเอง ผู้อื่น และสถานที่ หรือ การไม่ทำร้ายร่างกายกัน เป็นต้น

การยับยั่ง

พฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม

การยับยั่งพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม

  • ไม่นิ่งเฉย หรือ บ่อยทิ้งไว้นานเมื่อเกิดพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมโดยให้เอาจริง

กับการแก้ปัญหา เพราะ ถ้าไม่แก้ไขเด็กจะมองว่าพฤติกรรมนั้นถูกยอมรับ

  • รับฟังความคิดเห็นเพื่อให้เด็กรับรู้ว่าผู้ใหญ่เข้าใจความรู้สึกของเขา
  • การทบทวนกติกา ข้อตกลงด้วยท่าทีที่นุ่มนวล แต่จริงจัง
  • กรณีไม่ได้มีการตกลงกติกา ข้อตกลงไว้ ให้ใช้กฏ กติกาที่เป็นมาตรฐานสังคม

เช่น ไม่ละเมิดสิทธิตนเอง หรือ ผู้อื่น ไม่ทำลายของ เป็นต้น

  • เมื่อมีเหตุการณ์เกิดขึ้น จะต้องมีกระบวนการให้เด็กได้ทบทวนตนเอง

และหาแนวทางร่วมกัน เพื่อป้องกันไม่ให้เกดพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมอีก

กิจกรรมเพื่อพัฒนาผู้เรียน

แบบองค์รวม

กิจกรรมเพื่อ

พัฒนาผู้เรียน

แบบองค์รวม

กิจกรรมพัฒนาภายในจิตใจ

กิจกรรมพัฒนาภายในจิตใจ

  • กิจกรรมฝึกสติ ฝึกความรู้สึกตัว เช่น การฟัง การรอคอย เป็นต้น

  • นิทานธรรม

  • กิจกรรมเกี่ยวกับการขอบคุณ ขอโทษ และชื่นชม

  • กิจกรรมเกี่ยวกับการทำจิตอาสา การทำประโยชน์เพื่อผู้อื่น เพื่อธรรมชาติ

  • กิจกรรมนำเสนอสิ่งที่ตนเองทำได้ดี เพื่อสร้างความภาคภูมิใจ

กิจกรรมผูกสัมพันธ์

เพื่อนและครู

กิจกรรมผูกสัมพันธ์เพื่อนและครู

  • กิจกรรมละลายพฤติกรรม กิจกรรมการทำงานกลุ่มผ่านภารกิจต่างๆ
  • กิจกรรมฝึกฐานกาย เช่น การทรงตัว การใช้ร่างกาย
  • กิจกรรมฝึกให้ใช้การคิด การวิเคราะห์ การแก้ปัญหา การทำงานร่วมกันเป็นกลุ่ม
  • กิจกรรมการแบ่งปันเรื่องราวความรู้สึกระหว่างครู นักเรียน หรือ ระหว่างเพื่อน

เหตุการณ์ในชีวิต

ประจำวัน

เหตุการณ์ในชีวิตประจำวัน

  • เหตุการณ์สำคัญต่างๆ ในประเทศ และ ต่างประเทศ

เช่น โรคระบาดโควิด 19 เป็นต้น

  • วันสำคัญต่างๆ

  • กิจกรรมจัดบอร์ดความรู้ในหัวข้อที่แต่ละกลุ่มสนใจ

เชื่อมโยงกับวิชาบูรณาการที่เกี่ยวกับรายวิชาสังคมศึกษา

กิจกรรมบุคคล

สร้างแรงบันดาลใจ

กิจกรรมบุคคลสร้างแรงบันดาลใจ

  • การเล่าเรื่องราวของบุคคลต่าง ๆ เพื่อเป็นแรงบันดาลใจ

ให้เด็กตั้งเป้าหมายในชีวิต หรือ การเห็นคุณค่าจากเรื่องราว

ที่ได้รับฟัง

กิจกรรมเชื่อมโยงกับ

วิชาบูรณาการ

กิจกรรมเชื่อมโยงกับวิชาบูรณาการ

  • ประวัติความเป็นมาขอสถานที่ที่ไปศึกษาเรียนรู้
  • ประวัติศาสตร์ต่างๆ ของประเทศไทย และ ต่างประเทศ
  • ภูมิศาสตร์
  • ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
  • หน้าที่พลเมือง ประเพณี วัฒนธรรม

เชื่อมโยงกับวิชาบูรณาการที่เกี่ยวกับรายวิชาสังคมศึกษา

การสื่อสาร

การสื่อสารระหว่างโรงเรียนและผู้ปกครอง

1. ประชุมผู้ปกครองนักเรียนรายบุคคล ปีละ 2 ครั้ง แบ่งเป็นภาคเรียนที่ 1

และ ภาคเรียนที่ 2

2. การติดต่อสื่อสารระหว่าง 07.30 - 16.30 น. ขอให้ติดต่อสื่อสารผ่าน คุณครูฝ่ายธุรการ

  • ครูประจำชั้นงดใช้ Line ในช่วงเวลา 07.30 - 16.30 น.
  • ขอความร่วมมือช่วงเวลาหลัง 20.00 น. คุณครูขออนุญาตงดการสื่อสาร

3. สมุดสื่อสาร ผู้ปกครองสามารถเขียนสื่อสาร หรือ บอกเล่าเรื่องราวต่างๆ ของนักเรียน และ ผู้ปกครอง เพื่อแจ้งให้คุณครูรับทราบได้

แบบฟอร์มแจ้งการลาประถมภูมิธรรม

กรณี ลาป่วย ลากิจ ให้แจ้งผ่านระบบ Google Form ทุกครั้ง โดยทางโรงเรียนจะตรวจสอบในตอนเช้าเพื่อแจ้งครูประจำชั้น

วิถีชีวิต

ประถม

ภูมิธรรม

วิถีประถม

ภูมิธรรม

เวลาเข้าเรียน

เวลาเข้าเรียน และ เลิกเรียน

- นักเรียนมาโรงเรียนไม่เกิน 07.50 น.

- เข้าแถวเคารพธงชาติ ในเวลา 08. 00 น.

- เลิกเรียน เวลา 16.00 น.

- ผู้ปกครองสามารถรับนักเรียนกลับบ้านได้

ในเวลา 16.10 น. - 17.00 น.

รูปแบบการแต่งกาย

*การใช้อุปกรณ์ติดผม

เป็นสีพื้นเรียบร้อย

และ งดใช้ใส่เครื่องประดับ

ของมีค่ามาโรงเรียน

เช่น นาฬิกาข้อมือ

สร้อยคอ แหวน กำไล ตุ้มหู

การแต่งกาย

ชุดนักเรียน

ประถมภูมิธรรม

การแต่งกายในชุดนักเรียนประถมภูมิธรรม

ถุงเท้า : สีขาว

รองเท้า : รองเท้าผ้าใบสีขาว แบบมีเชือกผูกรองเท้า

ผู้หญิง : ใส่เสื้อทับในสีขาวด้านใน และ ให้ใส่กางเกงเลคกิ้งสีเอิร์ธโทน ไม่มีลวดลาย

ใส่ทุกวันพฤหัสบดี

ชุดลำลองประถมภูมิธรรม

ชุดลำลองประถมภูมิธรรม

  • เสื้อยืดประถมภูมิธรรม
  • กางเกงสีน้ำตาล
  • ถุงเท้าสีขาว
  • รองเท้าผ้าใบสีขาวแบบผูกเชือก
  • ใส่วันจันทร์ และวันอังคาร

ชุดกีฬา

ชุดกีฬา

  • เสื้อกีฬา
  • กางเกงวอร์มขายาวคลุมหัวเข่า
  • รองเท้าผ้าใบสีขาวแบบผูกเชือก
  • ใส่ทุกวันพุธ

ชุดผ้าไทย

ชุดผ้าไทย

  • ชุดผ้าไทยที่เคลื่อนไหวได้สะดวก
  • ใส่ทุกวันศุกร์

อุปกรณ์ที่ต้องนำมาโรงเรียน

  • แฟ้มสื่อสาร และ สมุดสื่อสาร
  • สมุดจดการบ้าน
  • นมจืด
  • กระติกน้ำ
  • ชุดแปรงสีฟัน แบบมีแก้ว
  • กล่องอาหารกลางวัน 1 กล่อง และ กล่องอาหารว่าง

จำนวน 2 กล่อง พร้อมกับถุงใส่กล่องอาหาร

อุปกรณ์ที่นำมาโรงเรียน

  • ช้อน ส้อม ส่วนตัว

ตัวอย่างกล่องอาหารและถุงใส่กล่องอาหาร

กล่องอาหารว่าง จำนวน 2 กล่อง

ถุงผ้าใส่กล่อง

อาหาร

กล่องอาหารกลางวัน

และช้อน ส้อม

อุปกรณ์เครื่องเขียน

อุปกรณ์เครื่องเขียน

  • อุปกรณ์เครื่องเขียน เช่น ดินสอ 2B, ยางลบ, กบเหลาดินสอ เป็นต้น
  • ไม้บรรทัดอันเล็กแบบพลาสติก
  • กระเป๋าใส่อุปกรณ์เครื่องเขียนแบบผ้า หรือ แบบพลาสติก

สีเรียบ งดลวดลายการ์ตูน

  • กรรไกรหัวมน มีปลอกหุ้มกรรไกร
  • กาวแท่ง
  • หนังสือเรียน พร้อมเขียน ชื่อ นามสกุล ชั้น และ เลขที่

รบกวนให้เด็กๆ เขียนชื่อใส่ในอุปกรณ์ของตนทุกชนิดด้วยนะคะ

รูปตัวอย่างอุปกรณ์เครื่องเขียน

การทำหน้าที่

หน่วยบริการ

การทำหน้าที่หน่วยบริการ

  • การหุงข้าว (หุงข้าวตามเลขที่)
  • การดูแลเพื่อนๆ ในชั้นเรียน เช่น การจัดอาหารว่าง

และ อาหารกลางวัน การตรวจโรงอาหาร เป็นต้น

  • การทำความสะอาดห้องเรียนในตอนเย็น

ตารางสอน

สิ่งที่ขอความ

ร่วมมือ

สิ่งที่ขอความร่วมมือจากผู้ปกครอง

1. จัดทำตารางกิจวัตรประจำวันของตนเอง เช่น

- การเขียนสิ่งที่ต้องทำ

- กิจกรรมคลายเครียดที่เป็นเวลาส่วนตัว

- กิจกรรมครอบครัวที่ต้องใช้เวลาด้วยกัน

ความสำคัญของการจัดกิจวัตรประจำวัน

- ฝึกจัดลำดับความคิด

- สร้างความรับผิดชอบ

- เกิดความมั่นคงในจิตใจ

- เสริมสร้างความสัมพันธ์ในครอบครัว

สิ่งที่ขอความร่วมมือจากผู้ปกครอง

2. ส่งเสริมเรื่องการทำงานบ้านอย่างเป็นประจำและต่อเนื่อง

3. การอ่านหนังสือนอกเวลาที่เหมาะสมกับช่วงวัยกับครอบครัว

เช่น หนังสือวรรณกรรม หนังสือนิทาน หรือ หนังสือตามความสนใจ เป็นต้น

- กิจกรรมรักการอ่าน

สิ่งที่ขอความร่วมมือจากผู้ปกครอง

4. การเขียนบันทึกไดอารี่ของฉัน ส่งทุกวันจันทร์

- เรื่องราวที่ตนเองภูมิใจ

- เรื่องราวที่ตนเองประทับใจ

- เรื่องราวที่ตนเองทำเพื่อผู้อื่น หรือ ทำให้ผู้อื่นมีความสุข

- เรื่องราวต่าง ๆ ที่อยากเล่าให้คุณครู และเพื่อน ๆ ฟัง

- หัวข้ออื่น ๆ ที่ตนเองสนใจ เช่น การทำงานบ้าน

ประโยชน์ในการเขียนไดอารี่

  • ฝึกทักษะการเขียน
  • การได้ใช้สมาธิจดจ่ออยู่กับตัวเอง
  • การได้เปรียบเทียบตัวเองในอดีตและปัจจุบัน
  • การได้เรียบเรียงระบบความคิดของตัวเอง

สิ่งที่ขอความร่วมมือจากผู้ปกครอง

5.การใช้สื่อ เทคโนโลยี การดูโทรทัศน์ การอ่านหนังสือ

การดูคลิป VDO ต่างๆ ขอให้อยู่ในความดูแลของผู้ปกครอง โดยเหลือสื่อการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับวัย และพัฒนาการของนักเรียน

Learn more about creating dynamic, engaging presentations with Prezi