Loading…
Transcript

การเขียนเรียงความ

Z

วิชา ภาษาไทย๑ ท๓๑๑๐๑

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔

ผู้สอน ครูชมพูนุท คงนอง

e

5

เขียนเรียงความไปทำไม?

การเขียนคือการสื่อสารรูปแบบหนึ่งที่ใช้

‘ตัวอักษร’ เป็นเครื่องมือ

ข้อดี

มีอะไรบ้าง?

ทำให้มีสมาธิ

ช่วยจัดระบบความคิด

เป็นหนึ่งในทักษะการสื่อสารที่สำคัญ

เป็นบันไดสู่ความสำเร็จ โดยเฉพาะการเขียนเชิงวิชาการ

เขียนเรียงความ

แล้วได้อะไร

“กระบวนการคิดที่เป็นระบบ”

เขียนแล้วก็จบ จะได้อะไร ?

เพราะสามารถสะท้อนกระบวนการคิด

ของผู้เขียนได้เป็นอย่างดี

2

1

เพราะอะไร?

มีความเป็นเหตุเป็นผล

ลำดับเรื่องราว

3

คุณค้นคว้าหาข้อมูลดีแค่ไหน

เรียงความ

คืองานเขียนที่ถ่ายทอดความรู้ เรื่องราว ข้อเท็จจริง จินตนาการ

โดยใช้กระบวนการคิด

ที่เป็นระบบ และภาษาที่สละสลวย

ความเรียง

VS

เรียงความ

เรียงความ

ความเรียง

ความ

แตกต่าง

ไม่มีรูปแบบตายตัว

มีรูปแบบตายตัว ได้แก่ คำนำ เนื้อเรื่อง สรุป

เน้นเหตุผล

ทัศนคติ ความรู้สึกนึกคิดของผู้เขียนต่องานชิ้นนั้น

ปรัชญา สะท้อนสังคม สะท้อนเหตุการณ์

การใช้ภาษาและวรรณศิลป์

ความเรียง เป็นส่วนหนึ่งของ เรียงความ

ส่วนประกอบ

มีอะไรบ้าง ?

๑. คำนำ เป็นส่วนเปิดเรื่อง

๒. เนื้อเรื่อง ๑ ย่อหน้าจะต้องมีใจความเดียวเท่านั้น

๓. สรุป ต้องกระชับขมวดประเด็นรวม ให้แง่คิด หรือตั้งคำถาม

เ_ก_าพ

สั_พั_ _ ภ_ _

ลักษณะ

ของเรียงความที่ดี

ความเป็นหนึ่งเดียว

ความสอดคล้องกัน

ส_รั__ภ_พ

ความมีสาระ

ขั้นตอนการเขียนเรียงความ

ขั้นตอน

การเขียนเรียงความ

๑. การเลือกและการกำหนดเรื่องในการเขียนเรียงความ

๑.๑ มีผู้กำหนดให้เขียน ๑.๒ ผู้เขียนคิดเรื่องเอง

๑.

กรณีที่ผู้เขียนคิดเรื่องขึ้นเอง

- เป็นเรื่องที่ตนมีความรู้ มีประสบการณ์และสนใจ

- แปลกใหม่ยังไม่มีผู้เขียนอย่างแพร่หลาย เพราะจะทำให้เรื่องน่าสนใจ ชวนติดตาม

๒. การกำหนดขอบเขตและจุดมุ่งหมาย

ผู้เขียนต้องจำกัดขอบเขตเนื้อหาให้เหมาะสมกับ

- เวลา

- จำนวนหน้า

- วัย เพศ ความรู้ของผู้อ่าน

๒.

กำหนดจุดมุ่งหมายให้ชัดเจน

อธิบายวิธีทำ แนะนำการปฏิบัติสิ่งใดสิ่งหนึ่ง

เสนอความคิดเชิงวิพากษ์วิจารณ์ ชักจูงโน้มน้าวใจ

ปลุกให้คนปฏิบัติตาม สร้างจินตนาการ

๓. การตั้งชื่อเรื่อง

  • บอกความคิดสำคัญของเรื่องที่เขียน
  • ควรใช้คำที่มีความหมายชัดเจน
  • ภาษาที่ใช้จะต้องถูกต้องตามหลักไวยากรณ์
  • ชวนติดตาม

๓.

๖ เทคนิค

ตั้งชื่อเรื่องเรียงความ

มัดรวม ๖ เทคนิค

ตั้งชื่อเรีื่องเรียงความให้น่าสนใจ

๑. ตั้งให้ตรงกับเรื่องที่เขียน เช่น ชุมชนของฉัน แม่ของฉัน

๒. เร้าใจชวนอ่าน เช่น ถ้าโลกนี้ไม่มีน้ำมัน กล่องโฟมกับความจริงที่ต้องรู้

๓. ใช้ประโยคคำถาม เช่น เส้นทางวัยรุ่นปัจจุบัน สดใสหรือเสี่ยงสูง จะอยู่อย่างไรถ้าโลกไร้อินเทอร์เน็ต

๔. ใช้คำทำให้เกิดภาพ เช่น ต้นไม้ในใจคน อุ้มโลกให้หายร้อน

๕. ใช้คำคล้องจองหรือเล่นเสียง เช่น พลังเยาวชนรุ่นใหม่ ช่วยช้างยิ้มได้ช่วยชาติไทยยิ้มด้วย

๖. สำนวน คำคม เช่น ในน้ำมีปลา ในนามีข้าว

แบบฝึกหัด

ตั้งชื่อเรื่อง

01

เช่น เราล้วนเคยเป็นเด็กสมัยนี้ของใครหลายคน เด็กสมัยนี้สบายจะตาย เด็กสมัยนี้กับการพัฒนาเศรษฐกิจอย่างสร้างสรรค์

วางโครงเรื่อง

02

เช่น ประเด็นที่หนึ่ง เล่าสาเหตุที่ผู้ใหญ่มักพูดคำว่าเด็กสมัยนี้ ประเด็นที่สอง บอกถึงสิ่งที่เด็กสมัยนี้ทำได้

เขียนใจความสำคัญของแต่ละประเด็น

03

๔. การเขียนโครงเรื่อง

การเขียนโครงเรื่อง หมายถึง การวางและการจัดลำดับเค้าโครง

อันเป็นความคิดสำคัญของเรื่องที่จะเขียน การเขียนโครงเรื่องไว้อย่างดี

จะเป็นแนวทางในการเขียน

๔.

๑. การรวบรวมความคิด: เมื่อคิดได้ ต้องจดไว้ทุกประเด็น

๒. การคัดเลือกประเด็นความคิด: เลือกที่เกี่ยว ไม่เกี่ยวตัดทิ้ง

๓. จัดลำดับเนื้อหา : ตามเวลา เหตุผล ก่อนหลัง ใหญ่ย่อย

๔. ทบทวนและปรับปรุงโครงเรื่องให้สมบูรณ์: ทวนเสร็จเริ่มเขียนประโยคใจความสำคัญแล้วขยายเรื่องได้เลย

๕. การแสวงหาและรวบรวมความรู้

๕.

  • ค้นคว้าจากหนังสือ วารสาร จุลสาร สิ่งตีพิมพ์
  • สัมภาษณ์ผู้ หรือผู้ที่เกี่ยวข้อง
  • การสนทนากับผู้อื่น
  • การบันทึกข้อมูลจากแหล่งข้อมูลหรือสถานที่จริง
  • ข้อมูลจากสื่อต่าง ๆ เช่น วิทยุ โทรทัศน์ ภาพยนตร์
  • สื่อเทคโนโลยีต่าง ๆ ที่ก้าวหน้าและทันสมัย

เขียนเรียงความอย่างไรให้โดนใจผู้อ่าน?

เจาะลึก

สรุป

# สั้น กระชับ เป็นประโยชน์#

สรุป = ความเห็น + เหตุผล + เสนอแนวทาง

เขียนคำนำอย่างไร

ให้คนอยากอ่านต่อ

นิยามของคำสำคัญ

คำคม คำขวัญ

เจาะลึก

คำนำ

สุภาษิต

เหตุการณ์

ตั้งคำถาม

บทเพลง

ทฤษฎีความรู้

๖๐ %

ความคิดผู้เขียน

ตัวอย่าง

03

๒๐ %

เจาะลึก

เนื้อเรื่อง

รีวิวความรู้ผู้เขียนสู่...ผู้อ่าน

ตัวอย่างเรียงความ