Introducing 

Prezi AI.

Your new presentation assistant.

Refine, enhance, and tailor your content, source relevant images, and edit visuals quicker than ever before.

Loading…
Transcript

Google Classroom นวัตกรรมการจัดการศึกษาในศตวรรษที่ 21

ที่มาและ

ความสำคัญ

ที่มา และความสำคัญ

> ลักษณะของหลักสูตรในศตวรรษที่ 21 จะเป็นหลักสูตรที่มีคุณลักษณะเชิงวิพากษ์

(Critical thinking) และสร้างสรรค์ (Creativity) เป็นหลักสูตรที่เน้นทักษะการคิดขั้นสูง พหุปัญญา เทคโนโลยีและมัลติมีเดีย

> ผู้เรียนมีคุณลักษณะการเป็นผู้ชี้นำตนเองได้ (Self-directed)

สามารถทำงานอย่างเป็นอิสระและร่วมมือกับผู้อื่นได้การจัดการเรียนการสอนสร้าง

ความท้าทายสำหรับผู้เรียนทุกคน

> ในปัจจุบันทักษะด้านการสื่อสาร สารสนเทศ คอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีนั้นมีบทบาทที่ชัดเจนมากขึ้น ด้วยเหตุนี้ ผู้สอนในศตวรรษที่ 21 จึงควรปรับกระบวนทัศน์เป็นอย่างมาก จากที่เคยเป็นผู้ให้ความรู้ (Teacher) ฝ่ายเดียว ต้องผันตนเองมาเป็นผู้ออกแบบการเรียนการสอนและ ผู้ช่วยอำนวยความสะดวกในการเรียนรู้ (Learning facilitator)

> การเรียนการสอนไม่ควรถูกจำกัดอยู่เพียงแค่ภายในห้องเรียนเท่านั้น ควรขยายโอกาสการเรียนรู้ให้กว้างออกไปอย่างไร้ขอบเขต โดยอาศัยนวัตกรรมและเครื่องมือที่สนับสนุนให้ผู้สอนได้จัดการเรียนการสอน ที่มีประสิทธิภาพและทันต่อยุคสมัยที่เปลี่ยนไป

G suite for Education

Google Apps for Education

ที่มาของ Google Classroom

G Suite คือ?

> นวัตกรรมใหม่ทางการศึกษา ที่ Google นำเสนอให้กับโรงเรียนและ องค์กรการศึกษาสำหรับใช้งานโดยไม่เสียค่าบริการ

> ใช้เทคโนโลยีเชื่อมต่อกับระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต

> ในปี 2555 มีนักศึกษา 16 ล้านคน จาก 146 ประเทศใช้ G suite for Education เป็นเครื่องมือในการเรียนการสอน

> ในปี 2556 มหาวิทยาลัยขอนแก่นเป็นมหาวิทยาลัยแรกในประเทศไทย ที่ได้เริ่มใช้ G Suite for Education

G Suite for Education ประกอบไปด้วยแอพพลิเคชั่นต่าง ๆ ไว้สำหรับรองรับการทำงานหลากหลาย รูปแบบ เช่น

- อีเมล (Gmail)

- ปฏิทิน (Google Calendar)

- ไดรฟ์ (Google Drive)

- ห้องเรียน (Google Classroom)

Google Classroom คืออะไร

Google Classroom

Google Classroom คืออะไร

> บริการหนึ่งของ G Suite for education ที่ส่งเสริมให้สถาบันการศึกษาทุกแห่งทั่วโลกใช้ประโยชน์จากบริการของ Google ที่มีอยู่แล้ว

- อีเมลล์ (Gmail)

- ไดรฟ์ (Drive)

- เอกสาร (Doc)

- ตาราง (Spreadsheet)

- ปฎิทิน (Calendar)

> นำมาใช้ในห้องเรียนบนอินเตอร์เน็ตแบบครบวงจร

Google Classroom คือ?

ข้อดี

ข้อดี ของ Google Classroom

1. ใช้งานได้ง่ายและช่วยให้ผู้สอนและผู้เรียนสื่อสารกันได้ดีขึ้น

2. ประหยัดเวลา

3. ปลอดภัยและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

4. ไม่เสียค่าใช้จ่าย

5. เข้าถึงได้ทุกที่ทุกเวลาผ่านอุปกรณ์สื่อสาร

ข้อจำกัด

ข้อจำกัด ของ Google Classroom

1. ข้อจำกัดในคุณลักษณะบางอย่างของ Classroom

- การใช้งานบัญชี G Suite for Education

- การใช้งานบัญชีส่วนบุคคลของ Google

2. ข้อจำกัดของระบบการเชื่อมต่อ

3. ข้อจำกัดด้านการแก้ไขงาน

1. ข้อจำกัดสำหรับ บัญชี G Suite for Education

สถาบันหรือองค์กรต่างๆจะต้องลงทะเบียนขอบัญชี G Suite for Education จึงจะสามารถใช้บริการ Classroom ได้

o เพิ่มผู้สอนร่วมได้สูงสุด 20 บัญชีต่อ 1 ห้องเรียน

o เพิ่มผู้สอนร่วมและผู้เรียนรวมกันได้สูงสุด 1,000 บัญชีต่อ 1 ห้องเรียน

1. ข้อจำกัดสำหรับ บัญชี Google ส่วนบุคคล

o สร้างห้องเรียนได้เพียง 30 ชั้นเรียนต่อวัน

o เข้าร่วมชั้นเรียนได้สูงสุดเพียง 100 ชั้นเรียน และ 30 ชั้นเรียนต่อวัน

o ส่งคำเชิญในการเป็นสมาชิกได้ 100 คำเชิญต่อ 1 ชั้นเรียน ต่อวัน

o เพิ่มผู้สอนร่วมและผู้เรียนรวมกันได้สูงสุด 250 บัญชีต่อ 1 ห้องเรียน

2. ข้อจำกัดของระบบการเชื่อมต่อ

o สร้างห้องเรียนได้เพียง 30 ชั้นเรียนต่อวัน

o เข้าร่วมชั้นเรียนได้สูงสุดเพียง 100 ชั้นเรียน และ 30 ชั้นเรียนต่อวัน

o ส่งคำเชิญในการเป็นสมาชิกได้ 100 คำเชิญต่อ 1 ชั้นเรียน ต่อวัน

o เพิ่มผู้สอนร่วมและผู้เรียนรวมกันได้สูงสุด 250 บัญชีต่อ 1 ห้องเรียน

3. ข้อจำกัดด้านการแก้ไขงาน

ผู้เรียนสามารถแก้ไขงาน และลบข้อมูลบางส่วนในงานที่ผู้สอนแชร์ผ่านทาง

Google Classroom ให้กับผู้เรียนได้

วิธีการใช้งาน

Google Classroom

วิธีการใช้งาน

การสร้าง และการเข้าร่วมชั้นเรียน

การสร้าง Google Classroom และการเข้าร่วมชั้นเรียน

1. ลงชื่อเข้าใช้ Google ส่วนบุคคล หรือ บัญชี G Suite

2. กดปุ่มสร้างห้องเรียน (Create) หรือกดเครื่องหมายบวก (+) แถบสีดำด้านบนหน้าต่าง

การสร้าง Google Classroom และการเข้าร่วมชั้นเรียน

3. ส่งรหัสห้องเรียน (Class Code) หรือส่งอีเมลล์เชิญ (Invite)

4. กดไปที่หน้า “เพื่อนร่วมชั้น” เพื่อ ดูรายชื่อและติดต่อกับเพื่อนร่วมชั้นเรียนเดียวกัน

การแจ้งเตือนประกาศและ

งานบนหน้า

สตรีม

การแจ้งเตือนประกาศ (Notification)และ งานบน หน้าสตรีม

เมื่อกดสร้างประกาศหรือมอบหมายงานแก่ผู้เรียน ระบบจะส่งข้อความเพื่อทำการ แจ้งเตือนไปยังบัญชี Gmail ของผู้เรียน หรือบัญชีที่ได้ลงทะเบียนไว้กับห้องเรียน

การสร้างงานและส่งงาน

การสร้างและส่งงาน

ประกาศหรืองานที่มอบหมายต่างๆ ที่สร้างขึ้น จะปรากฏการแจ้งเตือนบนหน้าสตรีมของห้องเรียน โดยวันที่กำหนดส่งงาน (Due date) จะปรากฏอยู่ด้านบนของคำสั่ง

การสร้างและส่งงาน

ผู้ใช้สามารถเข้าดูงานที่มอบหมายในหน้า Student Work

- Handed in = จำนวนผู้ส่งงานแล้ว - Assigned = จำนวนของผู้ที่ยังไม่ได้ส่งงาน

*หากผู้เรียนส่งงานเลยกำหนดเวลา ระบบจะทำการแจ้งเตือนไปยังผู้สอน

การสร้างและส่งงาน

ผู้เรียนสามารถกดตอบในประกาศหรืองาน

ที่ได้รับมอบหมายได้แบบเรียลไทม์

ผู้สอนและผู้ร่วมชั้นเรียนจะสามารถเข้าไปดู

คำตอบของผู้ตอบและให้ความคิดเห็นใน

ประกาศหรืองานชิ้นนั้นได้

การให้คะแนน ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะ

การให้คะแนน ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะ (Feedbacks and Suggestions)

ผู้สอนสามารถให้คะแนน ข้อคิดเห็นหรือข้อเสนอแนะในโพสคำตอบของ ผู้เรียนได้

ผู้ร่วมชั้นเรียนสามารถแสดงความคิดเห็นและให้ข้อเสนอแนะได้เช่นกัน

การให้คะแนน ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะ (Feedbacks and Suggestions)

การให้คะแนน ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะ (Feedbacks and Suggestions)

บทสรุป

รายงานผลการปฏิบัติงานตามแผนจัดการความรู้ เรื่อง "การจัดการเรียนการสอนโดยใช้ Google Classroom เพื่อพัฒนาทักษะการทำงานร่วมกันของนักศึกษา"

คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎวไลอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์

ตัวอย่างการนำมาใช้

> ผู้เรียนให้ความสนใจและสนุกกับการเรียนมากขึ้น

> ผู้เรียนสามารถนำทักษะความสามารถในด้าน คอมพิวเตอร์มาใช้ถ่ายทอดผลการทดลอง เพื่อเผยแพร่ผ่าน Google Classroom

> ผู้เรียนสามารถคิดวิเคราะห์ แบ่งปันข้อมูล และทำงานร่วมกันผ่าน classroom ได้เป็นอย่างดี

ข้อจำกัด

1. ข้อจำกัดด้านเทคนิค

2. ข้อจำกัดด้านวินัยของผู้เรียน

ข้อจำกัด

ข้อเสนอแนะ

> ควรให้คำแนะนำแก่ผู้เรียนเมื่อเกิด ปัญหาการใช้งานระหว่างเรียน

> ควรชี้แจงวิธีการใช้งานให้ผู้เรียนเข้าใจ อย่างชัดเจน

> ควรตรวจสอบความพร้อมของอุปกรณ์ เพื่อป้องกันการเกิดปัญหา

> ควรแนะนำให้ผู้เรียนสมัคร G-mail ด้วยชื่อและนามสกุลจริง

ข้อเสนอแนะ

Learn more about creating dynamic, engaging presentations with Prezi