Introducing 

Prezi AI.

Your new presentation assistant.

Refine, enhance, and tailor your content, source relevant images, and edit visuals quicker than ever before.

Loading content…
Transcript

Classroom 6

Nakhon Sawan Rajabhat University

ความสำคัญของการพัฒนาครู

ทักษะที่จำเป็นสำหรับครู

ในศตวรรษที่ 21

การส่งเสริมศักยภาพ

และสมรรถภาพของวิชาชีพ

บทบาทครู

ในศตวรรษที่ 21

เส้นทางความก้าวหน้าในวิชาชีพ

และการพัฒนาวิชาชีพ

ความเป็นผู้นำทางวิชาการ

ผู้จัดทำ

Graduate Diploma in Teaching Profession.

VDO สาระน่ารู้

1

2

3

1/2

4

5

6

7

2/2

1/3

2/3

3/3

- ความหมายเสริมสร้าง คือ เพิ่มพูนให้ดี

หรือมั่นคงยิ่งขึ้น เช่น เสริมสร้างเอกลักษณ์

ของชาติเสริมสร้างความสัมพันธ์ไมตรีอันดี

- ความหมายศักยภาพ หมายถึง อำนาจหรือคุณสมบัติที่มีแฝงอยู่

ในสิ่งต่างๆอาจทำให้พัฒนาหรือ

ให้ปรากฏสิ่งที่เป็นประจักษ์ได้

- ความหมายสมรรถภาพ หมายถึง คนมีสมรรถภาพในการทำงานสูงสมควรได้

เลื่อนตำแหน่ง

สมรรถภาพ สรุปได้ว่าความสามารถของบุคคล อันเป็นความรู้ความสามารถ ทักษะ เจตคติ อุปนิสัย หรือ บุคลิกภาพที่จะนำไปประยุกต์

ใช้ในการปฏิบัติงานให้งานเกิดผลสำเร็จอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลการส่งเสริมความสามารถของครูปรากฏออกมาเป็นที่ประจักษ์แก่นักเรียนและต่อสังคมความสามารถบุคลิกภาพตามเกณฑ์สมรรถภาพ 2 ประเภทคือ สมรรถนะหลัก และ สมรรถนะประจำสายงาน

1/11

2/11

2

1

3

4

5

6

7

8

9

3/11

สมรรถภาพด้านต่างๆของครูที่ครูควรทราบเพื่อเป็นแนวทาง

ในการพัฒนาสมรรถภาพของด้านต่างๆ

1

2

3

4

5

6

4/11

รูปแบบและวิธีการพัฒนาสมรรถภาพ

1.การพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา มุ่งเน้นให้มีสมรรถนะตามมาตรฐานตำแหน่งวิชาชีพ

2.การพัฒนามุ่งเน้นการสร้างเครือข่ายที่มีคุณภาพตามที่สถาบันพัฒนาครู

3.วิธีการพัฒนาต้องมีความหลากหลายสอดคล้องกับความต้องการพัฒนาครูและบุคลากร

ทางศึกษา

4.วิธีการพัฒนาที่สำคัญ ได้แก่ แบบเพือนช่วยเพือน การเข้ารับอบรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

ประสบการณ์กับผู้เชียวชาญเฉพาะสาขา

5.การเรียนรู้ผ่านเครือข่ายทางไกล้สามารถเพิ่มพูนและความรู้และพัฒนาตนเองโดยการเรียนรู้

ผ่านสื่อต่าง ๆ

5/11

ประโยชน์จาการเสริมสร้างสมรรถภาพครู

1.ทำให้ครูและบุคลากรทางการศึกษาแต่ละคนมีแผนสำหรับพัฒนาตนเอง

จากข้อมูลที่เชื่อถือได้

2.ทำให้รู้สมรรถนะที่ดี และ สมรรถนะที่บกพร่องของตน

3.ทำให้การพัฒนาตนเองเกิดจากความต้องการและความพร้อมของตัวเอง

4.ทำให้ได้แนวทางสำหรับการพัมนาสมรรถนะในการปฏิบัติงานของตนให้มี

ประสิทธิภาพสูงขึ้น

5.ทำให้เกิดความกะตือรือร้นในการพัฒนาตนเองอย่างมีเป้าหมาย

6.ทำให้องค์กรมีการพัฒนาบุคลากรอย่างเป็นระบบและมีประสิทธิภาพ

6/11

แนวทางการเสริมสร้างสมรรถภาพครูไทย

การผลิตครู การสร้างครูยุคใหม่

ครูที่คอยช่วยอำนวยการในการเรียนจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง คอยกระตุ้นให้เด็กรู้จักแสวงหาและพัฒนาองค์ความรู้ด้วยตนเองเพื่อวางรากฐานสำหรับการศึกษาตลอดชีวิต

การเสริมสร้างสมรรถภาพครู

ต้องจัดให้มีการฝึกอบรมมีการร่วมกันวางแผนและดำเนินการในการพัฒนาครูเพื่อให้มีความรู้และ

ทักษะที่จำเป็นตรงกับความต้องการและงานที่ปฏิบัติ

การยกย่องและให้รางวัล

วิชาชีพต้องได้รับการยกย่องและให้รางวัลอย่างถูกต้องและจริงจังเพื่อให้ครูมีขวัญและกำลังใจ

ที่จะทำความดี โดยมอบในวันครูของทุกปี และวันครูจัดครั้งแรกจัดขึ้นเมื่อวันที่ 16 มกราคม 2500

7/11

การเสริมสร้างสมรรถภาพวิชาชีพครู

วิชาชีพครูเป็นตำแหน่งศักดิ์สิทธิ์ มีความผูกพันกับผู้เรียนตลอดชีวิตจนกลายเป็นวัฒนธรรม

ของไทยอย่างหนึ่งที่มีความผูกพันดูแลกันตั้งแต่ผู้เรียน เดินเข้าโรงเรียนดูแลจนกระทั่งกลับบ้าน

สนับสนุนความต้องการและความสนใจของแต่ละบุคคลดูแลพฤติกรรมเก็บบันทึกความก้าวหน้า

แก้ไขปัญหาทางการเรียนประสานงานสื่อสารร่วมแก้ปัญหาของผู้เรียนกับผู้ปกครองเอาใจใส่

ความปลอดภัยให้แก้ผู้เรียนครูยังคงเป็นครูไปตลอดชีวิตการทำงานความผูกพันยังคงดำเนิน

ไปคอยฟังข่าวผู้เรียนที่เป็นลูกศิษย์ด้วยความห่วงใยอยู่เสมอและพลอยยินดีถ้าลูกศิษย์ประสบ

ความสำแร็จในชีวิต

8/11

สมรรถภาพด้านความรู้ความสามารถที่จำเป็น

1.ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติหน้าที่ของครู เช่น ความรู้ด้านเนื้อหาวิชา ด้านการวิจัย ด้านภาษา ด้านเทคโนโลยี ด้านธุรการ ด้านกิจการและบริการนักเรียน ด้านการแนะแนว ทักษะการจัดการ ทักษะการสื่อสารทักษะการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าอย่างสันติวิธี

2.ความรู้ที่จำเป็นสำหรับการเป็นคนที่สมบูรณ์ เช่น ความรู้ด้านคุณธรรม ด้านจิตวิทยา ด้านสังคม สมรรถภาพด้านการจัดการเรียนการสอน มีดังนี้

9/11

สมรรถภาพด้านการจัดการเรียนการสอน

เทคนิควิธีสอน การวางแผนการจัดการเรียนการสอน วิธีการสอนสื่อการสอนการประเมินผล

เพื่อการปรับปรุงตัดสิน

เทคนิคเฉพาะในการเรียนการสอน การจัดกลุ่มแบบต่างๆ การจัดประสบการณ์เสริม

การบูรณาการต่างๆ

เทคนิคการจัดการบริการผู้เรียน การจัดชั้นเรียน งานบริการด้านสุขภาพอนามัย เพื่อส่งเสริมประสบการณ์ผู้เรียน

เทคนิคด้านการแนะแนว การจัดการข้อมูลเพื่อการพัฒนาการแนะแนวการเรียน

เทคนิคด้านการพัฒนา การร่วมมือกับชุมชน การใช้ทักษะความเป็นผู้นำมาริเริ่มกิจกรรม โครงการต่างๆที่เป็นประโยชน์ต่อผู้เรียน

10/11

สมรรถภาพด้านคุณลักษณะและเจตคติ

1.มีเจตคติที่ดีต่อวิชาชีพครู มีศรัทธาและภูมิใจความเป็นครู เห็นคุณค่าและความสำคัญ

ของความเป็นครู

2.มีเจตคติที่ดีต่อการปฏิบัติงานครู เช่นปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดีแก่ผู้เรียน ตระหนัก

และเห็นความสำคัญตั้งใจฝ่รู้ และปฏิบัติงานอย่างเต็มใจ

3.มีสุขภาพกายที่แข็งแรงและจิตใจดี เช่น ควบคุมอารมณ์ได้ มองโลกในแง่ดีมีมนุษย

สัมพันธ์ที่ดี รู้จักดูแลสุขภาพ

4.มีค่านิยมที่ถูกต้องทั้งด้านการทำงานและในการดำเนินชีวิตเช่นตรงต่อเวลา

มีความรับผิดชอบดำเนินชีวิตตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงมีความร้องการเพียงพอ รู้จัประมาณตน

5.มีความเป็นผู้นำ กล้าริเริ่มสร้างสรรค์กล้าโต้แย้งและรู้จักปฏิเสธในสิ่งที่ไม่ถูกต้อง

ตามกฎหมาย

6.มีความรู้สึก และแสดงท่าที่ดีต่อศิลปวัฒนธรรมไทย

11/11

3

ความเป็นผู้นำทางวิชาการ

บทบาทครูด้านการเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้

และมีความเป็นผู้นำทางวิชาการสำหรับบทความนี้มีความสอดคล้องและสัมพันธ์กับครูมืออาชีพ

เพราะครูต้องพร้อมที่จะเรียนรู้ตลอดเวลาแสวง

หาค้นคว้าในการรวบรวมหาความรู้เพื่อการพัฒนาตนเองและพัฒนาเยาวชนครูต้องเป็นผู้นำทาง

วิชาการในสาขาวิชาชีพของตนที่มีความเชี่ยว

ชาญหรือความถนัดความสนใจเพื่อมุ่งชี้นำทาง

วิชาการให้แก่สังคม

2

1

ฟิดเลอร์ อี เฟรด

&

สันติ บุญภิรมย์

ความเป็นผู้นำทางวิชาการ

ฟิดเลอร์ อี เฟรด (1996:8) ได้กล่าวว่า ผู้นำคือคนหนึ่งในกลุ่ม

และอำนวยการให้งานในหน้าที่และ

งานที่เกี่ยวข้องในกลุ่มก่อให้เกิด

การปฏิบัติได้

สันติ บุญภิรมย์ (2557)

ได้ให้ความหมายว่า ผู้นำ บุคคล คนเดียว

หรือมากกว่าที่ช้อืธิพลในความสัมพันธ์

ระหว่างกันในสถานะการณ์ต่างๆ นำไปสู่การปฏิบัติและอำนวยการงาน

ในหน้าที่ที่เกี่ยวข้องโดยมีผู้นำมีการชักนำ

ชี้ทางและกระตุ้นให้เกิดการปฏิบัติเพื่อให้

บรรลุเป้าหมาย

1/1

ความหมายของวิชาการ

ความหมาย

ของวิชาการ

คาร์เตอร์ วี กู๊ด (Carter V. Good.1973) ได้ให้ความหมายของคำว่า วิชาการ

-เป็นเรื่องของความรู้ในสาขาวิชาศิลปศาสตร์ที่สามารถนำมาใช้ได้ทุกยุคสมัยที่มีความ

สัมพันธ์กับสิ่งทั้งปวงเป็นลักษณะเด่นของกิจกรรมการสอนแตกต่างไปจากที่ไม่เป็น

กิจกรรมการสอน

-เป็นเรื่องของโลก ของความนึกคิด ความคิดเห็น แผนการ วิธีการ ความเข้าใจ ความเชื่อและเป้าหมายหรือความเป็นธรรม

สันติ บุญภิรมย์ (2557) คือ วิชาความรู้ที่สาขาใดสาขาหนึ่งหรือหลากหลายสาขา

ในทางศิลปศาสตร์ที่สามารถนำมาใช้ได้ในทุกยุคทุกสมัยที่ใความสัมพันธ์กับสิ่งทั้งปวง

ที่เป็นลักษณะเด่นของกิจกรรมการสอนและเป็นเรื่องของโลกที่มีความเป็นนามธรรม

1/1

คุณลักษณะของผู้นำทางวิชาการ

5.สร้างสรรค์ หมายถึง การมีความคิดริริ่มโดยมี

ความสามารถคิดได้คิดเล่นและสามารถปฏิบัติ

ได้ให้เห็นผลของความคิดสามารถสร้างจินตนาการ

พร้อมทั้งพยายามแสวงหาแนวทางในการพัฒนาวิชาการ

6.กล้าตัดสินใจคือการตัดสินใจนำไปสู่ความเป็นธรรม

นำไปสู่การปฏิบัติให้เป็นรูปธรรมแล้วประสบผลสำเร็จ

7.เปิดโอกาส คือ การให้เพือนร่วมงานได้เข้ามามีส่วนร่วม

ในการรับรู้เพิ่มเติมจากตนเองหรือสนับสนุนเพือนร่วม

งานได้มีโอกาสพัฒนาตนเองความรู้เพิ่มเติม

1.ใจกว้าง คือ การเปิดใจยอมรับฟังความคิดเห็น

ของบุคคลอื่นที่มีความคิดเห็นต่างกันซึ่งถือได้ว่า

เป็นคุณลักษณะที่สำคัญที่สุดของบุคคลตนเอง

ว่าเป็นผู้นำทางวิชาการ

2.วิสัยทัศน์กว้างไกล คือผู้นำต้องเป็นบุคคลที่

มองเห็นความเป็นไปในอนาคตพร้อมทั้งเตรียม

การในการสอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงที่ควร

ไปตามศักยภาพของตนเอง

3.ทัศนคติเชิงบวกคือมีข้อเสนอแนะบางประการ

ที่มีอยู่ถึงไม่เห็นด้วยแต่มีความสามารถมองแต่

เล่นให้เป็นประเด็นทางบวกได้

4.มนุษยสัมพันธ์ที่ด คือ การเป็นบุคคลที่ทำงาน

ร่วมกับผู้อื่นๆได้ดี

คุณลักษณะ

ของผู้นำทางวิชาการ

1/1

ครูในศตวรรษที่ 21

ผู้เรียน

ในศตวรรษที่ 21

ผู้เรียนในศตวรรษที่ 21

จะเรียน รู้จักตั้งคำถาม/ปัญหาในสิ่งที่สงสัย และต้องรู้จักวิธีแสวงหาข้อมูลเพื่อนำมาตอบข้อคำถาม

ดังกล่าวด้วยตนเองรู้จักคัดเลือกการประเมิน คิดวิเคราะห์และสร้างความรู้ด้วยตนเองและนำไปประยุกต์

หรือกล่าวโดยสรุป ผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 เป็นผู้เรียนที่มีทั้งทักษะสารสนเทศและทักษะชีวิต

3

1

2

ความสามารถทาง

ด้านสติปัญญา

ความสามรถ

ในการรู้จักและเข้าใจตนเอง

ความสามารถทาง

ด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล

1/2

ผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 (3R 8C)

2/2

หลักสำคัญต่อ

การเรียนการสอน

ศตวรรษที่ 21

หลักสำคัญต่อการเรียนการสอนในยุค ศตวรรษที่ 21

1

มีความรู้จริงในสิ่งที่เรียน

2

สอนน้อย เรียนรู้ให้มาก

3

การศึกษาที่เน้นการเรียนรู้ตลอดชีวิต

1/1

บทบาทครูในศตวรรษที่ 21

  • การเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง
  • การเป็นผู้อำนวยความสะดวกต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน
  • การใช้ Mobile-Learningเป็นส่วนหนึ่งในการจัดการเรียนการสอน
  • การปรับตัวของครูให้ทันต่อโลกในศตวรรษที่ 21

1/2

สรุป....ครูในศตวรรษที่ 21

  • การผลิต....ครูต้องการปรับปรุงและพัฒนาที่นำไปสู่การยกระดับครูเพื่อคุณภาพของผู้เรียนทั้งสิ้นควรต้องเติมเต็มในระบบและนำไปสู่การปฏิบัติให้มากขึ้นอย่างเป็นรูปธรรมทั้งด้านการผลิตการพัฒนาและการใช้ครูในโอกาสต่อไป

  • การเสริมสร้างศักยภาพและสมรรถภาพวิชาชีพครู....ครูที่ต้องพัฒนางานที่เป็น วิชาชีพอย่างต่อเนื่อง ครูจำเป็นต้องเรียนรู้ทั้งสมรรถนะหลักและ สมรรถนะสายงาน รวมถึงหลักการ วิธีการ และองค์ความรู้ใหม่ ๆ ครูที่ดีต้อง ใส่ใจที่จะเสริมสร้างสมรรถภาพตนเองดังนั้นถ้าเราพัฒนาหรือผลิตครูที่ดี และเป็นมืออาชีพนั้นถือได้ว่าการศึกษาของผู้เรียนก็จะมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

2/2

คณะผู้จัดทำ

1.นายพีรภัทร ฉัตรชัยวัฒนา 62121684002

2.นายภัทรพงษ์ ชูชีพ 62121684006

3.นางสาวณัฐกานต์​ อยู่​ชา​ 62121684095

4.นายเฉลิมพล แตงอ่อน 62121684123

5.นางสาวธิดารัตน์ จันทร์บ้านคลอง 62121684151

6.นางสาว ดุษฎี เอี่ยมเย็น 62121684156

Learn more about creating dynamic, engaging presentations with Prezi