เหตุการณ์สำคัญ
ทางการเมือง
หลังการเปลี่ยนแปลง
การปกครอง
2549
“เหตุการณ์รัฐประหาร 2549”
เหตุการณ์
รัฐประหาร
2549
รัฐประหารประเทศไทย 2549
เกิดขึ้นในคืนวันที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2549
โดยคณะปฏิรูปการปกครอง
ในระบอบประชาธิปไตย
อันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข (คปค.)
นำโดย พลเอกสนธิ บุญยรัตกลิน เป็นหัวหน้าคณะ
ยึดอำนาจรัฐบาล พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร ยกเลิกรัฐธรรมนูญ ฉบับ พ.ศ.2540 สั่งยุบรัฐสภา สั่งห้ามการประท้วงและกิจกรรมทางการเมือง ยับยั้งและตรวจพิจารณาสื่อ ประกาศใช้กฎอัยการศึก และจับกุมสมาชิกคณะรัฐมนตรีหลายคน
โปรดเกล้าฯ แต่งตั้งพลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์์ เป็นนายกรัฐมนตรี
ประการแรก
นักการเมืองในรัฐบาลนั้น
กระทำการละเมิดต่อ
สถาบันพระมหากษัตริย์
ประการที่สอง
นักการเมืองในรัฐบาลนั้นได้ทำการขายชาติ ยอมยกอธิปไตยและดินแดนของประเทศไทย โดยไม่สนใจไยดีต่อความรู้สึกนึกคิดของประชาชน
ประการที่สาม
นักการเมืองในรัฐบาลนั้นได้ฉ้อฉลปล้นชาติ ฉ้อราษฎร์บังหลวงอย่างขนานใหญ่ที่สุดใน
ประวัติศาสตร์ของชนชาติไทย
ประการที่สี่
นักการเมืองในรัฐบาลนั้นได้ร่วมกัน
ฉีกรัฐธรรมนูญเกือบหมดทั้งฉบับ ทำให้คณะรัฐมนตรีเป็นแค่ตรายาง
ที่รองรับความปรารถนาของตนเท่านั้น
ประการทีี่ห้า
นักการเมืองในรัฐบาลนั้นได้เข้าครอบงำ
แทรกแซงองค์กรอิสระ จนขื่อแปบ้านเมืองถูกทำลายหมดสิ้น
ประการทีี่หก
นักการเมืองในรัฐบาลนั้นได้ยึดเอาทรัพย์สมบัติของแผ่นดินและกิจการต่างๆ จำนวนมากเป็นสมบัติของตน
ประการทีี่เจ็ด
นักการเมืองในรัฐบาลนั้น
ได้ใช้อำนาจข่มเหงข้าราชการ
ให้ยอมเป็นทาส
ประการทีี่เเปด
นักการเมืองในรัฐบาลนั้น
ได้ทำการแบ่งแยกเข่นฆ่าสังหาร
ประชาชนอย่างโหดร้ายทารุณ
ประการทีี่เก้า
นักการเมืองในรัฐบาลนั้นได้ลิดรอนสิทธิเสรีภาพของประชาชน กีดกันขัดขวางและทำลายการนำเสนอข้อมูลข่าวสารที่ถูกต้องแก่ประชาชน แพร่และยัดเยียดข้อมูลข่าวสารอันเป็นเท็จ
แก่ประชาชน
ลำดับเหตุการณ์
ก่อนการเกิดรัฐประหาร
ลำดับเหตุการณ์
ก่อนการเกิด
รัฐประหาร
เหตุการณ์1
เหตุการณ์5
เหตุการณ์7
เหตุการณ์3
เหตุการณ์9
2550
2546
เหตุการณ์6
เหตุการณ์2
เหตุการณ์4
เหตุการณ์8
รวมกลุ่มกันในชื่อว่า “กลุ่มประชาชนเพื่อชาติ
และราชบัลลังก์”
การขายหุ้นชินคอร์ปของตระกูลชินวัตร-ดามาพงษ์
2546
ความไม่พอใจดังกล่าวขยายวงกว้างออกมากขึ้นเรื่อยๆ โดยจุดสำคัญอยู่ที่รายการ “เมืองไทยรายสัปดาห์”
ของนายสนธิ ลิ้มทองกุล
การเลือกตั้งได้ แต่การเมืองยังครุกรุ่นมากขึ้น
ชุมนุมประท้วงขับไล่ นายทักษิณ เริ่มขยายวงกว้างมากขึ้นเรื่อยๆ
ประกาศ “ยุบสภา” ในวันที่ 24 ก.พ. 2549 เพื่อให้มีการเลือกตั้งใหม่
เพิกถอนการเลือกตั้ง 2 เม.ย. 2549 ก่อนเตรียมเลือกตั้งใหม่ แต่ไม่ทัน
ตั้งแต่เดือน พ.ค. 2549 เป็นต้นมา
มีข่าวลือต่างๆเกี่ยวกับการปฏิวัติรัฐประหาร
อย่างต่อเนื่อง พล.อ.สนธิ บุญยรัตกลิน ผบ.ทบ. ออกคำสั่งกองทัพบกที่ 423/2549
ในวันที่ 19 ก.ค. 2549 “ถอดเขี้ยวเล็บ ตท.10”
2550
พลเอก สนธิ บุญรัตกลิน ออกมาปฏิเสธกระแสข่าวปฏิวัติ
รัฐประหาร ครั้งแรกในช่วงเดือน พ.ค. 2549
ลำดับ
เหตุการณ์
หลังการ
รัฐประหาร
ลำดับเหตุการณ์
หลังการ
รัฐประหาร
เช้าของวันที่ 19 ก.ย. 2549
ที่เวทีพันธมิตร
8.00 น. มีการเรียกประชุมฝ่ายความมั่นคง
ตอนสาย เริ่มมีกระแสข่าวว่า เย็นนี้ จะมีทหารบางส่วนจากลพบุรีเข้ากรุงเทพ
ราว 11โมง นายประชา ประสพดี เข้าแจ้งความร้องทุกข์ ให้ตร.ดำเนินคดีกับนาย สนธิ ลิ้มทองกุล ข้อหากบฏ
ประเทศไทยยังคงมีประชาธิปไตยที่แข็งแรงอยู่
กองทัพมีความพร้อมรับมือ “ม๊อบชนม๊อบ” พร้อมยืนยันแผน “ปฐพี149”
ตกบ่าย สถานการณ์ข่าวลือยิ่งแรงขึ้น เริ่มมีรายงานการเคลื่อนย้ายกำลังพลจากหลายๆ จุดต่างๆ จำนวนมาก
กองทัพแจ้งว่า เป็นการเคลื่อนย้ายเพื่อสับเปลี่ยนกำลังในภารกิจ 3 จังหวัดชายแดนใต้
18.00 กระแสข่าวลือรุนแรงขึ้น ว่าจะเป็นการผลงานของขั้วตรงข้าม “ทักษิณ ชินวัตร”
18.30 พ.ต.ท.ทักษิณ แจ้งเลื่อนการกลับไทยเร็วขึ้น
20.00 น. มีรายงานการเคลื่อนไหวของฝากฝั่งตร. ที่มีการเตรียมกำลังพลในบางจุดสำคัญ
21.00 น. มีรายงานแจ้งว่า มีรถ OB ของทาง ททบ.5 วิ่งบนถนน โดยไม่ทราบพิกัดเป้าหมายปลายทางว่า ไปยังที่ใด
21.30 สัญญาณมา!!!
22.00 มีรายงานเข้ามาถึงความเคลื่อนไหวที่ถนนราชดำเนิน ว่ามีขบวนรถถังออกมาวิ่งบนถนน
22.30 น. สถานีโทรทัศน์เริ่มค่อยตัดภาพเข้าสู่รายการพิเศษ ซึ่ง ณ เวลานั้นเป็นที่ชัดเจนแล้วว่า มีการทำรัฐประหาร
23.00 หลายแหล่งข่าวยืนยันตรงกันว่า มีการทำรัฐประหาร ยึดสถานีโทรทัศน์ วิทยุ สถานีไทยคม อาคารชินวัตร และบ้านจันทร์ส่องหล้า
•23.15 น. พล.ต.ประภาส ศกุนตนาค อดีตโฆษก ททบ.5 อ่านแถลงการณ์คณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย
เศรษฐกิจ
ผลจากการ
รัฐประหาร
2549
ผลจากการ
รัฐประหาร 2549
ด้านเศรษฐกิจ
การลงทุน
ภาครัฐ
เกิดผลกระทบทางด้าน เศรษฐกิจ
ปฏิกิริยาของ
ตลาดการเงิน
ค่าเงินบาทที่
ตลาดหลักทรัพย์
นิวยอร์กได้
ปรับตัวอ่อนค่าลง
ด้านสังคม
ชุมชนเกิดการ
ทะเลาะกัน
เพราะความคิดเห็น
เกิดการแตกแยกทางความคิดเห็นด้านการเมือง
อย่างรุนแรง
คนในประเทศ
จะต้องมาเป็น
เครื่องมือของการต่อต้าน
ด้านการเมืองการปกครอง
นโยบาย
ประชานิยม
ของทักษิณ
ก่อให้เกิด
ความแตกแยก
ในสังคมไทย
อย่างรุนแรง
อย่างไม่เคย
ปรากฏมาก่อน
ในสังคมไทย