Introducing 

Prezi AI.

Your new presentation assistant.

Refine, enhance, and tailor your content, source relevant images, and edit visuals quicker than ever before.

Loading…
Transcript

1

การศึกษาปริมาณฝุ่นละอองรวมและฝุ่นละอองขนาดเล็กกว่า 10 ไมครอน

ในบรรยากาศภายในมหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก

The study of Total Suspended Particulate and Particulate Matter Less Than 10 Micron (PM10) in Ambient Air in Naresuan University , Phisanulok Province

ชื่อเรื่อง การศึกษาปริมาณฝุ่นละอองรวมและฝุ่นละอองขนาดเล็กกว่า 10 ไมครอน

ในบรรยากาศภายในมหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก

ผู้ศึกษาวิจัย รวิวรรณ ลิ้มพิบูลย์

อาจารย์ที่ปรึกษา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จรูญ สารินทร์

ประเภทสารนิพนธ์ วิทยานิพนธ์ วทบ. สาขาวิชาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

มหาวิทยาลัยนเรศวร พ.ศ.2558

คาสาคัญ ฝุ่นละอองรวม ฝุ่นละอองขนาดเล็กกว่า 10 ไมโครเมตร

-บทความวิจัย

-วัตถุประสงค์

ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา

ผู้วิจัยจึงเห็นถึงความสาคัญในการศึกษาปริมาณฝุ่นละอองภายในมหาวิทยาลัยนเรศวร จึงควรมีการศึกษาปริมาณฝุ่นละอองภายในมหาวิทยาลัยและในบริเวณที่มีการจราจรติดขัดและหนาแน่นและในบริเวณที่มีการก่อสร้างตามจุดต่างๆภายในมหาวิทยาลัย โดยข้อมูลปริมาณฝุ่นละอองที่ได้สามารถเป็นข้อมูลพื้นฐานสาหรับมหาวิทยาลัยเพื่อใช้ในการวางแผนบริหารจัดการคุณภาพอากาศที่มีประสิทธิภาพสามารถนาไปกาหนดมาตรการในการแก้ไขปัญหาฝุ่นละอองจากการก่อสร้างและการจราจรเพื่อลดผลกระทบที่เกิดจากปัญหามลพิษทางอากาศภายในมหาวิทยาลัยนเรศวรต่อไป

ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา

วัตถุประสงค์ของการวิจัย

วัตถุประสงค์ของการวิจัย

1. เพื่อศึกษาปริมาณของฝุ่นละอองรวมในอากาศ (TSP) ภายในมหาวิทยาลัยนเรศวร

2. เพื่อศึกษาปริมาณของฝุ่นละอองขนาดเล็กในอากาศ (PM10) ภายในมหาวิทยาลัยนเรศวร

3. เพื่อศึกษาปริมาณการจราจรภายในมหาวิทยาลัยนเรศวร

2

วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลและแนวคิดที่ใช้ในการวิจัย

วิธีการและการดำเนินงาน

ขอบเขตด้านเนื้อหา

1 .ฝุ่นละอองรวมในอากาศ (TSP) เลือกเก็บตัวอย่างฝุ่นละอองรวม เพื่อวิเคราะห์ฝุ่นละออง

รวม

2. ฝุ่นละอองขนาดเล็กในอากาศ (PM10) เลือกเก็บตัวอย่างฝุ่นละอองขนาดเล็ก เพื่อวิเคราะห์

ความเข้มข้นของฝุ่นละอองขนาดเล็ก

3. การจราจร ทาการสารวจปริมาณการจราจร เพื่อให้จาแนกจานวนและชนิดของยานพาหนะ

ได้อย่างแม่นยา จึงกาหนดการสารวจปริมาณยานพาหนะ โดยใช้บุคคลเก็บข้อมูล (Manual counting

methods) เพื่อให้เห็นถึงจานวนของยานพาหนะชนิดต่างๆ ว่ามียานพาหนะชนิดใดมากที่สุดที่ส่งผล

ต่อประชาชน

ระยะเวลาของการศึกษา

ศึกษาข้อมูลในช่วงเวลา ระหว่างเดือน กรกฎาคม ถึง พฤศจิกายน พ.ศ.2558

ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ

ระยะเวลาของการศึกษา

1. เพื่อให้ทราบถึงปริมาณฝุ่นละอองในบริเวณที่ทาการตรวจวัด

2. เพื่อเปรียบเทียบปริมาณฝุ่นละอองในบริเวณการก่อสร้างและบริเวณการจราจรว่าบริเวณ

ใดมีฝุ่นละอองมากกว่ากัน

3. เป็นข้อมูลพื้นฐานสาหรับมหาวิทยาลัยเพื่อใช้ในการวางแผน บริหารจัดการคุณภาพอากาศ

ให้มีประสิทธิภาพ สามารถนาไปกาหนดมาตรการในการแก้ไขปัญหาฝุ่นละอองจากการ

ก่อสร้างและการจราจรเพื่อลดผลกระทบที่เกิดจากปัญหามลพิษทางอากาศภายใน

มหาวิทยาลัยนเรศวรต่อไป

วิธีการดำเนินงานวิจัย

พื้นที่วิจัยที่มีการจราจร

บริเวณที่มีการจราจรหนาแน่น กาหนดทั้งหมด 4 จุด คือ

จุดเก็บตัวอย่างที่ 1 บริเวณคณะบริหารธุรกิจเศรษฐศาสตร์และการสื่อสาร

จุดเก็บตัวอย่างที่ 2 บริเวณโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยนเรศวร

จุดเก็บตัวอย่างที่ 3 บริเวณหอพักอาจารย์

จุดเก็บตัวอย่างที่ 4 บริเวณตึกเอกาทศรถ

Agenda item 3

ภาพที่ 1 จุดเก็บตัวอย่างบริเวณที่มีการจราจรหนาแน่นภายในมหาวิทยาลัยนเรศวร

ที่มา : http://www.nu.ac.th/th/a_map.php (สืบค้นเมื่อวันที่ 17 สิงหาคม 2558)

รุ)

3

Detailed schedule

Detailed

schedule

Day 1

Day 1

Team members + trainers

Key takeaways + resources

Day 2

Team members + trainers

Key takeaways + resources

Day 3

Team members + trainers

Key takeaways + resources

4

Detailed

schedule

5

Detailed

schedule

Learn more about creating dynamic, engaging presentations with Prezi