วงจรไฟฟ้า คือ การนำเอาแหล่งจ่ายไฟฟ้ามาจ่ายแรงดันกับกระแสให้กับโหลด โดยผ่านลวดตัวนำและสวิตช์ในการเปิดปิดวงจรเพื่อตัดหรือต่อกระแสไฟฟ้าที่จ่ายให้กับโหลด ในทางปฏิบัติจะมีฟิวส์ในวงจรเพื่อป้องกันปัญหาข้อผิดพลาด
ที่จะเกิดกับวงจรและอุปกรณ์ เช่น โหลดเกินหรือไฟฟ้าลัดวงจร
วงจรไฟฟ้าเบื่องต้นที่ควรศึกษา ได้แก่ วงจรอนุกรม , วงจรขนาน และวงจรแบบผสม
วงจรอนุกรม
ใช้โวลต์มิเตอร์วัดความต้านทานในแต่ละจุด
หมายถึง การนำอุปกรณ์มาต่อกันลักษณะปลายทางด้านหนึ่งของอุปกรณตัวที่1ต่อกับอุปกรณ์ตัวที่2จากนั้นนำปลายอุปกรณ์ตัวที่2ต่อกับอุปกรณ์ตัวที่3 และต่อไปเรื่อยๆซึ่งจะทำให้
1.กระแสไฟฟ้าไหลไปในทิศทางเดียวกันกระแสไฟฟ้าในวงจรมีเท่าๆกันทุกจุด
2.ค่าความต้านทานรวมของวงจรคือความต้านทานของทั้งหมดรวมกัน
3.ความต่างศักย์ในวงจรนั้นจะปรากฏคร่อมตัวต้านทานทุกตัวที่จะมีกระแสไฟฟ้าไหลผ่าน ซึ่งความต่างศักย์ที่เกิดขึ้นมีค่าไม่เท่ากันโดยสามารถคำนวณหาได้
จากกฏของโอห์ม
ใช้โวลต์มิเตอร์วัดความต่างศักย์รวม
หมายถึง
วงจรที่ต่ออุปกรณ์ไฟฟ้าตั้งแต่2ตัวขึ้นไปขนานกับแหล่ง
จ่ายไฟฟ้า มีผลคือ
1.ค่าของความต่างศักย์ไฟฟ้าที่ตกคร่อมอุปกรณ์ไฟฟ้าแต่ละแถวมีค่าเท่ากันและเท่ากับความต่างศักย์ระหว่างเซลล์
2.ทิศทางการไหลของกระแสไฟฟ้าแยกมีตั้งแต่2ทางขึ้นไป
ตามจำนวณแถวที่ขนานกับวงจร
3.ค่าความต้านทานรวมภายในวงจรจะมีค่าเท่ากับผลรวม
ของส่วนกลับของค่าความต้านทานทุกตัวรวมกันซึ่งค่าความต้านทานรวมภายในวงจรมีค่าน้อยกว่าค่าความต้านทาน
ภายในสาขาที่น้อยที่สุด
หมายถึง
ต่อทั้งสองแบบแรกรวมกันบางส่วนเป็นแบบขนาน บางส่วนเป็นอนุกรม อาศัยหลักการทำงานตลอดอาศัยคุณสมบัติของแต่ละวงจร
1. นาย ศุภกร เพ็งปรางค์ เลขที่2
2. นางสาว สุภาพรรณ คุ้มฉาย เลขที่13
3. นางสาว สุทธิรัตน์ ช่วยกลาง เลขที่28
4. นางสาว เพชรรัตน์ โตโคกขาม เลขที่41
5. นางสาว รจนา รักษาคม เลขที่46
ชั้นม.6/2
โรงเรียนพุทธชินราชพิทยา