Loading…
Transcript

LA301

ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา

โครงสร้างภาษี

เงินได้บุคคลธรรมดา

ผู้มีหน้าที่เสียภาษี

ผู้มีหน้าที่เสียภาษี

1.บุคคลธรรมดา หมายถึง ในทางกฎหมาย บุคคลธรรมดา หมายถึงสิ่งที่มีชีวิตสามารถมีสิทธิ และหน้าที่ได้ตามกฎหมาย คือมนุษย์ทั้งปวงจะเป็นหญิง ชาย เด็ก คนชรา หรือเป็นผู้บกพร่องใน ความสามารถหรือเป็นคนวิกลจริตอย่างใดก็ตามคนวิกลจริตอย่างใดก็ตามถือเป็นบุคคลธรรมดาทั้งสิ้น บุคคลที่มีชีวิตโดยสภาพบุคคลเริ่มแต่เมื่อคลอดแล้วอยู่รอดเป็นทารก และสิ้นสุดลงเมื่อถึงแก่ความตาย หากบุคคลธรรมดาดังกล่าวมีรายได้ถึงเกณฑ์ขั้นต่ำที่ประมวลราษฎรกำหนดไว้

1

2.ห้างหุ้นส่วนสามัญที่มิใช่นิติบุคคล หมายถึง การที่บุคคลธรรมดาตั้งแต่ 2 บุคคลขึ้นไป ตกลงเข้าทุนกันไม่ว่าจะเป็น เงินแรงงาน หรือทรัพย์สินฯลฯเพื่อกระทำกิจการร่วมกันโดยมีวัตถุประสงค์ ที่จะแบ่งปันผลกำไรที่จะพึงได้แก่กิจการที่ทำนั้น (ห้างหุ้นส่วนที่จดทะเบียนจะเป็นนิติบุคคล) คณะบุคคลที่มิใช่นิติบุคคล มีลักษณะเหมือนกับห้างหุ้นส่วนสามัญ ต่างกันแต่เพียงวัตถุประสงค์ คือคณะบุคคล ไม่จำเป็นต้องมีวัตถุประสงค์ที่จะแบ่งปันผลกำไรที่จะพึงได้ เช่น การจัดการแสดงเพื่อ หารายได้นำไปบริจาคให้แก่ผู้ทุกข์ยาก บุคคลผู้มีหน้าที่เสียแทนคณะบุคคลได้แก่ ผู้จัดการ ผู้อำนวยการ

2

3.ผู้ถึงแก่ความตาย หมายถึง การถึงแก่ความตายระหว่างปีภาษี คือระหว่างวันที่ 1 มกราคม ถึงวันที่ 31 ธันวาคม หรือถึงแก่ความตายก่อนยื่นแบบแสดงรายการเสียภาษีก็ได้ โดยที่ความตายทำให้ สภาพบุคคลสิ้นสุดลง ผู้จัดการมรดก หรือทายาท หรือผู้ครอบครองทรัพย์มรดกแต่แต่กรณี เป็นบุคคลผู้มีหน้าที่ยื่นรายการแทนผู้ถึงแก่ความตายในระหว่างปีภาษี ที่มีเงินได้ขั้นต่ำถึงเกณฑ์ที่ ประมวลรัษฎากรกำหนดไว้ โดยผู้มีหน้าที่ยื่นแบบแสดงรายการเสียภาษีคือ ผู้จัดการมรดก หรือทายาท หรือผู้ครอบครองทรัพย์มรดกของผู้ถึงแก่ความตาย

3

4.กองมรดกที่ยังไม่ได้แบ่งคือ ในปีภาษีถัดจากปีที่เจ้ามรดกถึงแก่ความตาย หากกองมรดกนั้นยังไม่แบ่ง ให้กับทายาทคนใดคนหนึ่งโดยเด็ดขาด ไม่ว่าจะด้วยเหตุผลใดก็ตาม และกองมรดกมีเงินได้พึงประเมินถึงเกณฑ์ขั้นต่ำที่ประมวลรัษฎากร

กำหนด โดยผู้มีหน้าที่ยื่นแบบแสดงรายการเสียภาษีคือ ผู้จัดการมรดก หรือทายาท หรือผู้ครอบครองทรัพย์มรดกของผู้ถึงแก่ความตาย

4

ฐานภาษี

ฐานภาษี

เงินได้พึงประเมินที่ต้องเสียภาษีแบ่งออกเป็น 5 ประเภท

ตามกฎหมายเงินได้ที่ต้องเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา เรียกว่า"เงินได้พึงประเมิน"

หมายถึง เงินได้ของบุคคลใดๆ หรือหน่วยภาษีใดข้างต้นที่เกิดขึ้นระหว่างวันที่

1 มกราคม ถึง 31 ธันวาคม ของปีใดๆ หรือเงินได้ ที่เกิดขึ้นในปีภาษี ได้แก่

1.เงินสด หรือตราสารที่มีสภาพแทนเงินได้

2.ทรัพย์สินซึ่งอาจคิดคำนวณได้เป็นเงิน ที่ได้รับจริงที่ได้รับจริง

3.ประโยชน์ซึ่งอาจคิดคำนวณได้เป็นเงิน (เกณฑ์เงินสด)

4.เงินค่าภาษีอากรที่ผู้จ่ายเงินหรือผู้อื่นออกแทนให้

5.เครดิตภาษีตามที่กฎหมายกำหนด

ตัวอย่างเงินได้พึงประเมินที่ได้รับการยกเว้นการเสียภาษี

1. ค่าเบี้ยเลี้ยง หรือ ค่าพาหนะ ซึ่งลูกจ้างหรือผู้รับหน้าที่หรือตำแหน่งงาน

หรือผู้รับทำงาน ให้ได้จ่ายไปโดยสุจริต ตามความจำเป็นเฉพาะ

2. ค่าพาหนะและเบี้ยเลี้ยงเดินทางตามอัตราที่รัฐบาลกำหนดโดย

พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยอัตรา ค่าพาหนะและเบี้ยเลี้ยงเดินทาง

3. เงินค่าเดินทางซึ่งนายจ้างจ่ายให้แก่ลูกจ้าง เฉพาะส่วนที่ลูกจ้างได้จ่ายทั้งหมด

โดยจำเป็น เพื่อการเดินทางจากต่างถิ่นในการเข้ารับงานเป็นครั้งแรก

4. ในกรณีที่นายจ้างและลูกจ้างได้ทำสัญญากันโดยสุจริตก่อนใช้พระราชบัญญัติ

ภาษีเงินได้ พุทธศักราช 2475 มีข้อกำหนดว่า นายจ้างจะชำระเงินบำเหน็จ

เงินค่าธรรมเนียม เงินค่านายหน้า หรือเงินโบนัส ให้แก่ลูกจ้างเป็นจำนวนเ

เมื่อการงานที่จ้างได้สิ้นสุดแล้ว แม้เงินเต็มจำนวนนั้นจะได้ชำระภายหลังที่ใช้

เช่น การขายบ้านแล้วได้เงินมาไม่เสียภาษีเพราะไม่ได้หวังผลกำไรเป็นต้น

ตัวอย่าง

วิธีการคำนวณภาษี

การคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา โดยทั่วไปหากผู้มีเงินได้ถึงเกณฏ์หมายบอกไว้

ส่วนประกอบสำคัญคือ เงินได้พึงประเมินหักเงินได้ที่ได้รับยกเว้น หักค่าใช้จ่าย หักค่าลดหย่อน

หักเงินบริจาค แล้วนำเงินได้สุทธินั้นไปคำนวณภาษีตามบัญชีอัตราภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา

วิธีการคำนวณภาษี

เงินได้พึงประเมิน xxx

หัก เงินได้ที่ได้รับยกเว้น XX

หักค่าใช้จ่าย XX

หักค่าลดหย่อน XX

เงินได้สุทธิ XX

ภาษีที่ต้องชำระ ( ถ้ามี ) = เงินได้สุทธิ X อัตราภาษี (5%-35%) = XX

การคำนวณภาษีสิ้นปี

1.การคำนวณภาษีสิ้นปี วิธีที่ 1 จากเงินได้สุทธ

เงินได้สุทธิ = เงินได้พึงประเมิน - ค่าใช้จ่าย - ค่าลดหย่อน

ภาษีที่ต้องเสีย = เงินได้สุทธิ x อันตราภาษี

สิ้นปี

2 คำนวณจากเงินได้พึงประเมิน (วิธีนี้ต้องคำนวณหากมีเงินได้ฟฟังประเมินประเภท

ที่ 2 ถึง 8ตั้งแต่ 120000 บาทขึ้นไป)

ภาษีที่ต้องเสีย = เงินได้พึงประเมิน x ร้อยละ 0.5*วิธีนี้นั้นหากจำนวนภาษีที่คำนวณได้ไม่เกิน5000ให้

ยกเว้นทั้งจำนวน } **ถ้ามีการคำนวณทั้งสองแบบ ภาษีที่ต้องเสีย คือ จำนวนภาษีที่มากกว่าจากที่คิด

การคำนวณภาษีครึ่งปี

2.การคำนวณภาษีครึ่งปี **เฉพาะกรณีมีเงินได้ประเภทที่ 5 ถึง 8ไม่รวมกับเงินกินเปล่า

เงินช่วยก่อสร้าง*ที่ได้รับตั้งแต่เดือน ม.ค. ถึง มิ.ย. ***

2.1 วิธีการคำนวณ เช่นเดียวกับการคำนวณภาษีสินปี

2.2 วิธีการหักค่าใช้จ่าย เช่นเดียวกับการคำนวณภาษีสิ้นปี

2.3 การหักลดหย่อน *หักได้ครึ่งเดียว* ของอัตราค่าลดหย่อนที่กำหนดและที่จ่ายไปจริง ม.ค.-มิ.ย.

2.4 ภาษีหัก ณ ที่จ่าย ที่นำมาหักในการคิดต้องเป็นภาษีหัก ณ ที่จ่ายระหว่าง ม.ค. - มิ.ย.

2.5 ภาษีที่เสียถือเป็นเครดิตภาษีตอนสิ้นปี

ครึ่งปี

แบบแสดงรายการที่ใช้ยื่นภาษี

สามารถยื่นแบบแสดง รายการภาษีได้แล้ว..ที่

• สำนักงานสรรพกรทุกแห่ง

• ไปรษณีย์ไทยเขตกรุงเทพ • www.rd.go.th

1.แบบ ภ.ง.ด.90 แบบแสดงรายการภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาสิ้นปี สำหรับผู้ที่มีเงิน

ได้ในกรณีทั่วๆไปตั้งแต่เงินได้ประเภท 1 - 8 ในระหว่างปีภาษีที่ล่วงลงมายึดมีนาอีกปี

2.แบบภ.ง.ด.91 แบบแวดงรายการภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาสิ้นปีสำหรับผู้มีเงินได้จาก

การจ้างแรงงานประเภทที่ 1 เพียงอย่างเดียว

3.แบบ ภ.ง.ด.93 เป็นแบบแสดงรายการภาษีเงินได้ของบุคคลธรรมดาสำหรับใช้ยื่นก่อน

ถึงเวลาที่กำหนด การยื่นแบบให้ยื่นภายในเดือนมีนาคมของปีถัดจากปีที่ได้รับ

4.แบบ ภ.ง.ด.94 แสดงรายการเกี่ยวกับเงินได้บุคคลธรรมดาครึ่งปี สำหรับผู้ที่มีเงิน

ประเภทที่ 5 -8 ที่ได้รับมาตั้งแต่เดือนมกราคม ถึง มิถุนายน

5.แบบภ.ง.ด 95 เป็นแสดงรายการภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา สำหรับต่างด้าว ผู้มีเงิน

ได้จากกการจ้างแรงงานสำนักปฏิบัติการภูมิภาคยให้ยื่นเบาๆ ภายในมีนาคมของปีหน้า

แบบแสดงรายการที่

ใช้ยื่นภาษี

กำหนดเวลายื่นแบบแสดงรายการ

1.การยื่นแบบครึ่งปี

กำหนดยื่น = ภายในเดือนกันยายนของปีภาษีนั้น ๆ

2.การยื่นแบบสิ้นปี

กำหนดยื่น = ภายในเดือนมีนาคมของปีถัดไป

*** ปีภาษี = ตั้งแต่ 1 มกราคม ถึง 31 ธันวาคม ***

กำหนดเวลา

ยื่นแบบแสดงรายการ

ภ.ง.ด. 90 สำหรับกรณีมีเงินได้ทุกประเภท

ภ.ง.ด 91 สำหรับกรณีมีเงินได้เฉพาะประเภทที่ 1

ภ.ง.ด 93 สำหรับกรณีขอชำระภาษีก่อนถึงกำหนด

ภ.ง.ด 94 สำหรับกรณียื่นแบบครึ่งปี

• อัตราภาษีเงินได้ของบุคคลธรรมดา •