Loading…
Transcript

อิทธิพลของภาษาถิ่น

๒. ใช้คำแตกต่างกัน

ประโยชน์ของ

การศึกษาภาษาถิ่น

เช่น -คำลงท้าย ประโยคหรือวลี

o ภาษาไทยมาตรฐาน ใช้ สิ นะ คะ ครับ

o ภาษาถิ่นใต้ ใช้ หา เล่า ตะ เหอ

o ภาษาถิ่นอีสาน ใช้ เด้อ นอ แน แม

o ภาษาถิ่นเหนือ ใช้ เจ้า กอ อื่อ กา

๓.คำที่มีความหมายเดียวกัน ภาษาต่างถิ่นกัน

อาจใช้คนละคำ

คำว่า พูด ในภาษาไทยมาตรฐาน

ภาษาถิ่นเหนือ ใช้ว่า อู้

ภาษาถิ่นอีสาน ใช้ว่า เว้า

ภาษาถิ่นใต้ ใช้ว่า แหลง

ความแตกต่างระหว่างภาษาไทยถิ่น

กับภาษาไทยมาตรฐาน

๔.คำเดียวกันแต่ความหมายแตกต่างกัน

๑. ออกเสียงต่างกัน

- ภาษาถิ่นอีสานไม่มีเสียงควบกล้ำ

เช่น เป็นจั๊งใด๋ สบายดีบ่ กะปอม

เช่น

- ชมพู่ ภาษา ใต้ หมายถึง ฝรั่ง

-ข้าวสาลี ภาษาเหนือ หมายถึง ข้าวโพด

๕. ระบบการสร้างคำหรือไวยากรณ์แตกต่างกัน

- ภาษาถิ่นอีสาน ใช้ ตำส้ม

ภาษาไทยมาตรฐาน ใช้ ส้มตำ

- ภาษาถิ่นใต้ ใช้ พ่อหลวง, พี่หลวง

ภาษาไทยมาตรฐาน ใช้ หลวงพ่อ, หลวงพี่