Loading…
Transcript

การดูแลผู้ป่วยหลอดเลือดสมอง(CVA)

ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองที่รับตัวไว้ในโรงพยาบาล หลังจากอาการของโรคคงที่

แพทย์จะให้กลับบ้าน

ดังนั้น ญาติผู้ป่วยและแพทย์ ควรปรึกษากันว่า จะดูแลผู้ป่วยหลังออกจากโรงพยาบาลอย่างไร

การวางแผนควรกระทำตั้งแต่วันแรกที่ผู้ป่วยนอนโรงพยาบาล

1. การเตรียมที่อยู่ที่ปลอดภัย

2. การเตรียมเครื่องช่วยในการดำเนินชีวิต

3. การเตรียมผู้ช่วยเหลือผู้ป่วย

4. การฟื้นฟูสภาพผู้ป่วยที่บ้าน

3. การเตรียมผู้ช่วยเหลือคนไข้

1. การเตรียมที่อยู่ที่ปลอดภัย

4. การฟื้นฟูสภาพผู้ป่วยที่บ้าน

2. การเตรียมเครื่องช่วยในการดำเนินชีวิต

ห้องนอน ควรจัดห้องนอน ห้องน้ำ และห้องอาหาร ให้อยู่ชั้นเดียวกัน เพื่อผู้ป่วยสามารถช่วยเหลือตัวเองได้

มากที่สุด

ผู้ป่วยที่ยังไม่แข็งแรงช่วยตัวเองไม่คล่องจึงต้องมีเครื่องช่วยดังนี้

การวางแผนควรกระทำตั้งแต่วันแรกที่ผู้ป่วยนอนโรงพยาบาล

เนื่องจากสมองมีหลายส่วน แต่ละส่วนมีหน้าที่แตกต่างกันไป

ดังนั้น อาการในผู้ป่วยแต่ละคน ขึ้นกับความรุนแรงและบริเวณของสมองที่มี ความผิดปกติไป

การวางแผนควรกระทำตั้งแต่วันแรกที่ผู้ป่วยนอนโรงพยาบาล

เตียง ผู้ป่วยที่ยังช่วยตัวเองไม่ดี หรือรับประทานอาหารเองไม่ได้ ควรใช้เตียงเหมือนเตียงในโรงพยาบาล โดยสามารถ ปรับหัวเตียง และมีราวสำหรับให้ผู้ป่วยยึดจับสำหรับพลิกตัว เตียงควรมีความสูงพอเหมาะ ที่จะดูแลผู้ป่วยได้ง่าย ผู้ป่วยสามารถนั่งที่ขอบเตียง โดยเท้าแตะพื้นได้

2. walker เป็นคอกสี่เหลี่ยมมี 4 ขาใช้สำหรับประคองตัว

1.cane ไม้เท้าช่วยเดิน อาจมีขาเดียว 3 ขา หรือ 4 ขา เหมาะสำหรับประคองตัว

3.braces อุปกรณ์ใช้เพื่อให้ข้อเท้าและเท้าอยู่ในตำแหน่งที่เดินได้

เนื่องจากผู้ป่วยอัมพาต หลังออกจากโรงพยาบาล ร่างกายยังไม่แข็งแรงพอ จึงจำเป็นต้องเตรียมสถานที่ เพื่อให้ปลอดภัย และส่งเสริมให้มีการฟื้นฟูสภาพ ดำเนินไปอย่างรวดเร็ว โดยต้องจัดเตรียมดังต่อไปนี้

สิ่งสำคัญในการฟื้นฟูสภาพผู้ป่วย

ระยะเวลาในการฟื้นฟู

โดยทั่วไปผู้ช่วยเหลือคนไข้มักจะเป็นญาติของผู้ป่วย เช่น สามีหรือภรรยา ลูก พี่น้อง หรือเพื่อนบ้าน หรืออาจจะเป็นเจ้าหน้าที่ตามศูนย์บริการ ผู้ช่วยเหลือคนไข้จะมีหนึ่งคน เป็นหลักที่จะดูแลผู้ป่วยเป็นส่วนใหญ่ ส่วนคนอื่นอาจมาช่วยเป็นครั้งคราว

เช่น ช่วยตอนกลางคืน หรือวันหยุด

ดังนั้นก่อนที่ผู้ป่วยจะกลับบ้าน ผู้ช่วยเหลือคนไข้จะต้องเข้าใจและสามารถให้บริการ แก่ผู้ป่วยได้อย่างปลอดภัย และมีประสิทธิภาพ

นอกจากนั้นยังต้องเข้าใจถึงการเปลี่ยนแปลงทางอารมณ์ของผู้ป่วยด้วย

การช่วยเหลือผู้ป่วยแต่ละรายจะไม่เหมือนกัน เนื่องจากสภาพผู้ป่วยไม่เหมือนกัน

ก่อนผู้ป่วยกลับบ้านท่านลองตรวจดูว่า ผู้ช่วยเหลือคนไข้ สามารถทำสิ่งต่างๆ

เหล่านี้ได้ หรือยัง

1. การเตรียมที่อยู่ที่ปลอดภัย

2. การเตรียมเครื่องช่วยในการดำเนินชีวิต

3. การเตรียมผู้ช่วยเหลือผู้ป่วย

4. การฟื้นฟูสภาพผู้ป่วยที่บ้าน

1. การฟื้นฟูสภาพในระยะเฉียบพลัน

2. การฟื้นฟูสภาพในระยะฟื้นตัว

3. การฟื้นฟูสภาพต่อเนื่องตลอดชีวิต

1. การเตรียมที่อยู่ที่ปลอดภัย

2. การเตรียมเครื่องช่วยในการดำเนินชีวิต

3. การเตรียมผู้ช่วยเหลือผู้ป่วย

4. การฟื้นฟูสภาพผู้ป่วยที่บ้าน

- เป็นกระบวนการที่ ต้องใช้เวลา มากหรือน้อยไม่เท่ากัน

- แบ่งเป็นช่วงๆ โดยมีเป้าหมายและแนวทางแตกต่างกัน

- ความร่วมมือและกำลังใจจากครอบครัวเป็นสิ่งสำคัญ

1. การเตรียมที่อยู่ที่ปลอดภัย

2. การเตรียมเครื่องช่วยในการดำเนินชีวิต

3. การเตรียมผู้ช่วยเหลือผู้ป่วย

4. การฟื้นฟูสภาพผู้ป่วยที่บ้าน

ระยะเวลาในการฟื้นฟู

1. การฟื้นฟูสภาพในระยะเฉียบพลัน

2. การฟื้นฟูสภาพในระยะฟื้นตัว

3. การฟื้นฟูสภาพต่อเนื่องตลอดชีวิต

แนวทางการดูแลทางกายภาพบำบัด

1. การฟื้นฟูสภาพในระยะเฉียบพลัน

2. การฟื้นฟูสภาพในระยะฟื้นตัว

ไม่สามารถบอกได้ชัดเจน ว่าจะฟื้นตัวภายในระยะเวลาเท่าใด โดยปกติใช้เวลา เบื้องต้น 6 เดือน

อาการที่พบเริ่มขยับหัวไหล่ ข้อศอก มือ หรือเริ่มงอขาและเข่าได้ แต่อาจมีอาการชา ตามร่างกาย

อาจพบการแข็งเกร็งของแขนขา การเคลื่อนไหวทำได้ยาก เช่น มีการเกร็งงอของ แขน และเกร็งเหยียดของขา ปลายเท้าจิกพื้น ทำให้การทรงตัว นั่ง ยืน เดิน มีความยากลำบาก

1. ฝึกเปลี่ยนอิริยาบถและเคลื่อนที่ เคลื่อนย้าย

- การเคลื่อนย้ายตัวเองบนเตียง พลิกตัว ตะแคงตัว

- ลุกขึ้นนั่งจากท่านอนได้เอง หรือมีผู้ช่วย

- นั่ง ทรงตัว และทำกิจกรรมในท่านั่ง

- ลุกขึ้นยืนจากท่านั่งได้เอง หรือมีผู้ช่วย มีอุปกรณ์ช่วย

- การทรงตัวในท่ายืน

- การฝึกเดิน (ทั้งมี และไม่มีอุปกรณืช่วย)

- การฝึกขึ้นลงบันได

- การเดินในสิ่งแวดล้อมทั่วไป

2. การออกกำลังกายฟื้นฟูกล้ามเนื้อให้ใช้งานได้

3. การฝึกทำกิจวัตรประจำวัน เช่น กินข้าว ใส่เสื้อผ้า

- เป็นระยะที่มีอาการ "ปวกเปียก"

- มักเกิดขึ้นในช่วงแรกของอาการ

- ความยาวนานของช่วงระยะนี้ขึ้นอยู่กับหลายปัจจัย

- ความรุนแรงของโรค

- อายุของผู้ป่วย

- ความทันเวลาของการรักษา

- การให้คำแนะนำ

- เรื่องการพลิกตะแคงตัว

- เรื่องการจัดท่าทางในการนอนเพื่อป้องกันการเกิดแผลกดทับ

และการผิดรูปของร่างกาย

- ป้องกันการเกิดกล้ามเนื้อ และข้อต่อยึดติด

- การฝึกนั่งโดยมีผู้อื่นช่วงประคองในช่วงแรก

- การแนะนำให้ญาติสอนผู้ป่วยใช้ร่างกายซีกที่ดีในชีวิตประจำวัน

ที่จำเป็น เช่น กินข้าว ดื่มน้ำ เปลี่ยนเสื้อผ้า

การปรับสภาพบ้านให้เหมาะสมกับการใช้ Wheelchair

การออกแบบพื้น

ลักษณะควรเป็นแนวตรง ลักษณะผิวมีความแข็ง , เรียบ

และฝืด หลีกเลี่ยงการเปลี่ยนระดับและควรระบายน้ำได้ดี

แสง ต้องสว่างพอ

ประตู ไม่ควรมีธรณีประตูเพราะผู้ป่วยอาจจะสะดุดได้

6. Wheelchair รถเข็นสำหรับผู้ป่วยที่เดินไม่ได้

5. ที่นอน ต้องเป็นที่นอนที่แน่น ไม่นุ่มหรือแข็งเกินไป ผ้าปูที่นอน ต้องขึงตึง ไม่มีรอยย่นหรือรอยพับ เพื่อกันไม่ให้เกิดการถูไถกับผิวหนัง ผู้ป่วยอันจะนำมาซึ่งแผลกดทับได้

4. เตียงนอนควรเป็นเตียงที่แข็งแรง พื้นเตียงควรเป็นไม้ และสามารถปรับความสูงต่ำได้

ควรติดราว ไว้ในห้องน้ำ และทางเดินเพื่อให้ผู้ป่วย ยึดเกาะเวลาเดิน

ราวกันตก

ควรสูงไม่น้อยกว่า 1.11 ม. เนื่องจากเป็นตำแหน่งที่สูงกว่าครึ่งนึง

ของร่างกายเล็กน้อย และควรทำขอบกั้นที่พื้นสูงอย่างน้อย 0.10 ม. (10 ซม.)

เพื่อป้องกันการไถลตกของรถเข็น

การรักษาทางกายภาพบำบัด

ทางเข้าและประตู

สำหรับคนนั่งรถเข็น ประตู และทางเข้าควรมีความกว้างมากกว่า ความกว้างของรถเข็น และระยะกางแขน ในกรณีที่ผู้พิการใช้แขน เข็นรถเอง นิยมใช้ประตูบานเลื่อนมากกว่าบานเปิด มีอุปกรณ์ดึงกลับ อัตโนมัติ และมีมือจับที่สามารถจับได้ถนัดมือ

ที่นอนลมเพื่อป้องกันแผลกดทับ หากผู้ป่วยไม่สามารถพลิกตัว ด้วยตัวเอง อาจมีความจำเป็นต้องใช้

มือจับ

ควรเลือกมือจับ ที่มีรูปทรงที่สามารถจับได้ด้วยนิ้วเดียว ไม่ต้อง ใช้การบิดหรือการออกแรงมากนัก มือจับมีลักษณะเป็นท่อหรือ เป็นราวจับ เพื่อความสะดวกในการใช้งาน ตำแหน่งติดตั้งควรสูง จากพื้น 0.90 ม. - 1.10 ม. อยู่ห่างจากบานพับมากที่สุด เพราะจะออกแรงน้อยที่สุด

การฝึกนั่ง

การออกกำลังกายผู้ป่วยบนเตียง

การจัดท่าทางการนอน

การจัดท่านอนหงาย

การจัดท่านอนตะแคงทับข้างที่ปกติ

การบริหารการเคลื่อนไหวของข้อ

ป้องกันข้อติดแข็ง กล้ามเนื้อ แข็งเกร็ง

ข้อควรปฏิบัติในการเคลื่อนไหวข้อ

- ควรทำการเคลื่อนไหว ให้สุดองศาของการเคลื่อนไหวที่ปกติ

- ในแต่ละท่าทำซ้ำๆท่าละ 10-15 ครั้ง วันละ 1-2 รอบ เป็นอย่างน้อย

- ไม่ควรทำการเคลื่อนไหวหลังรับประทานอาหารอิ่มใหม่ๆหรือขณะ ผู้ป่วยมีไข้

- ขณะทำการเคลื่อนไหวข้อ หากพบปัญหาอย่างอื่นตามมาควรหยุด

การจัดท่านอนตะแคงทับข้างที่ปกติ

1 การบริหารส่วนของแขน

2 การบริหารส่วนของขา

การยกแขนขึ้นและลง

การกางแขนออกและหุบแขนเข้า

การหมุนข้อสะโพกเข้าและออก

การงอข้อสะโพกและข้อเข่า

การงอข้อศอกเข้าและออก

การกระดกข้อมือขึ้น-ลงเหยียด-งอนิ้ว

การกางขาออกและเข้า

การกระดกข้อเท้าขึ้น-ลง

ภาวะแทรกซ้อน

- แผลกดทับ

- ข้อติด

- กล้ามเนื้อแข็งเกร็ง

3.2 การดูแลผู้ป่วยที่ช่วยตัวเองไม่ได้

3.1 การดูแลผู้ป่วยที่พอช่วยตัวเองได้

การเดิน

การใช้ Wheelchair

7. อุปกรณ์เสริมอื่นๆ เช่น กระโถน ถาดอาหารเป็นต้น

เช่น - พลิกตัวเองไม่ได้

- รับประทานอาหารทางสายยาง

- บางรายอาจมีท่อช่วยหายใจคาอยู่ที่คอ

ผู้ช่วยเหลือคนไข้สามารถดูแลผู้ป่วยดังกล่าวข้างต้นแล้วยังต้องดูแลเป็นพิเศษ ดังนี้

- ควรมีเตียงเหมือนกับที่ใช้ในโรงพยาบาลพร้อมทั้งที่นอนลมเพื่อป้องกันแผลกดทับ

- ผู้ช่วยเหลือคนไข้สามารถ พลิกตัวผู้ป่วยทุก 2 ชั่วโมงเพื่อป้องกันแผลกดทับ

- ผู้ช่วยเหลือคนไข้สามารถ ทำความสะอาดในปากได้

- ผู้ช่วยเหลือคนไข้สามารถ ทำความสะอาดร่างกายผู้ป่วยบนเตียงได้และดูแลผิวหนังเป็น

- ผู้ช่วยเหลือคนไข้สามารถ ผสมอาหารเหลวสำเร็จรูปหรือเตรียมอาหารตามสูตรได้

- ผู้ช่วยเหลือคนไข้สามารถ ให้อาหารทางสายยางได้อย่างถูกวิธี

เช่น - พูดคุยรู้เรื่อง

- อ่อนแรงไม่มาก หายใจได้เอง

- รับประทานอาหารได้

- ผู้ช่วยเหลือคนไข้สามารถช่วยผู้ป่วยทำกายภาพตามแพทย์สั่งได้หรือไม่

- ผู้ช่วยเหลือคนไข้สามารถจัดยาตามแพทย์สั่งได้หรือไม่

- ผู้ช่วยเหลือคนไข้สามารถช่วยผู้ป่วย อาบน้ำ แปรงฟัน ขับถ่าย แต่งตัวได้หรือไม่

- ผู้ช่วยเหลือคนไข้สามารถช่วยผู้ป่วยในการดำเนินชีวิตประจำวัน

เช่น เดินด้วย cane , walker ได้หรือไม่ - ผู้ช่วยเหลือคนไข้สามารถให้อาหารตามแพทย์แนะนำได้หรือไม่

"โปรดระลึกอยู่เสมอว่าผู้ป่วยมีปัญหาเรื่องการกลืนอาจจะสำลักเกิดปอดบวมได้"

นายวิทยา พรหมจรัส

นักกายภาพบำบัดปฏิบัติการ