Introducing 

Prezi AI.

Your new presentation assistant.

Refine, enhance, and tailor your content, source relevant images, and edit visuals quicker than ever before.

Loading…
Transcript

หมากฮอสเวทมนต์ (Magic Checkers)

แผนงานและระยะเวลาดำเนินการ (Gantt Chart)

บรรณานุกรม (Bibliography)

1.เนื้อเรื่องย่อ (Story Board)

เขียนเกมหมากฮอส.(2558).สืบค้นเมื่อ 1 กุมภาพันธ์ 2558, จากhttp://www.tmi.or.th/index.php?option=com_content&view=article&id=168&catid=30:programmer-corner&Itemid=40

สอนเขียน Android App ฟรี.(2558).สืบค้นเมื่อ 1 กุมภาพันธ์2558, จากhttp://www.thaicreate.com/mobile/android.html

บุคลากรด้านซอฟต์แวร์.(2558).สืบค้นเมื่อ 26 มกราคม 2558, จากhttp://kanchanapisek.or.th/kp6/sub/book/book.php?book=25&chap=4&page=t25-4-infodetail05.html

หมากฮอสเวทมนต์ (Magic Checkers) เป็นเกมหมากฮอสที่เล่นบน สมาร์ทโฟน Android โดยเกม

ที่เราจะพัฒนาขึ้นนี้จะแตกต่างจากหมากฮอสทั่วๆ ตรงที่ตัวหมากของเราจะใช่ตัวละครแทนเป็นตัวหมาก

โดยเราจะแบ่ง ตัวละครออกเป็น 3 ตัวละครด้วยกันคือ เผ่ามนุษย์(อัศวิน) เผ่ายักษ์ และเผ่าเอลฟ์ และเมื่อ

หมากของเรากินคู่ต่อสู้ก็จะมีสกิลของตัวละครแต่เผ่า ให้ใช้ และจะมีฉาก Animation ตอนใช่สกิลปรากฎ

ขึ้นมา เมื่อตัวหมากเข้าฮอสตัวหมากก็จะเปลี่ยนไปเป็นอีกร่างนึง เกมหมากฮอสเวทมนต์ (Magic Checkers) จะยังใช่กติกาเหมือนกับหมากฮอสไทยทุกอย่าง เพื่อจะทำให้ผู้เล่นไม่สับสนและภายในเกมยังสามารถเลือกโหมด

ในการเล่นได้ด้วย

รายละเอียดของการพัฒนา

ตัวอย่าง หมากภายในเกม เผ่ามนุษย์ เผ่ายักษ์ เผ่าเอลฟ์

ประโยชน์ที่เป็นเหตุผลให้ควรพัฒนาโปรแกรม

1. เนื้อเรื่องย่อ (Story Board)

2. เทคนิคหรือเทคโนโลยีที่ใช้

3. เครื่องมือที่ใช้ในการพัฒนา

4. รายละเอียดโปรแกรมที่จะพัฒนา

ตัวอย่าง สกิลที่จะปรากฎขึ้นมา

ตัวอย่าง ฉาก Animation ตอนใช่สกิลปรากฎขึ้นมา

(1) ทำให้เป็นคนสุขุมนุ่มลึก ละเอียดรอบคอบ ตัดสินใจอยู่บนอยู่บนหลักของเหตุผลไม่ใช้อารมณ์

(2) ช่วยฝึกให้สมองของเราให้คิดเรื่องซับซ้อน และให้มีสมาธิอยู่กับเรื่องซับซ้อนนั้นได้อย่างต่อเนื่อง

(3) ช่วยให้ความคิดเรา เฉียบคม มีความพร้อมที่จะใช้ความคิดแก้ไขปัญหาต่างๆ ไม่อ่อนล้าง่าย

เมื่อเจอปัญหายุ่งยาก ซับซ้อน

(4) ช่วยฝึกให้ผู้เล่นมีทัศนะคติที่ดีต่อปัญหาต่างๆ ในชีวิตและการทำงาน

(5) ช่วยฝึกให้คนชอบในความยากและงานที่ท้าทายต่อความสามารถ ไม่ย่อท้อหนีปัญหา ง่ายๆ

(6) ฝึกให้เกิดความเคยชินกับความยุ่งยากซับซ้อนวุ่นวายเห็นเรื่องยากเป็นเรื่อง ง่ายธรรมดา

(7) ฝึกให้ผู้เล่นเป็นนักวางแผนกลยุทธ พัฒนาความคิดในเชิงวิเคราะห์ คือ

การกำหนดลักษณะของปัญหา , พิจารณาค้นหาสาเหตุ , ประเมิณกำลังและสภาพแวดล้อม , กำหนดทางเลือกที่เป็นไปได้ต่างๆทั้งหมดแล้วจึงตัดสินใจเลือกทางเลือกเพื่อให้สามารถบรรลุ

วัตถุประสงค์ได้ อย่างดีที่สุด

2.เทคนิคหรือเทคโนโลยีที่ใช้

3.

3.1 ใช่ได้แค่บนระบบปฎิบัติการ Android

3.2 ไม่มีการอัพเดตเวอร์ชันใหม่ๆในภายหลัง

2.1 ภาษา Java จะมีโปรแกรม Eclipse (ADT) , Android Studio เป็นตัวที่ซัพพอร์ทในการเขียนแอปพลิเคชัน

2.2 ภาษา C++ จะมีโปรแกรม native (Android NDK) เป็นตัวที่ซัพพอร์ทในการเขียนแอปพลิเคชัน

สารสำคัญของโครงงาน

ผู้ที่สามารถใช้ระบบสามารถแบ่งเป็น 1 กลุ่ม คือ กลุ่มบุคคลที่ดาวน์โหลดแอปพลิเคชัน

2.

แต่ละโมดูลมีความสามารถในการทำงาน ดังนี้

2.2 Module AI

-Bot หรือ AI สามารถเดินหมากได้เอง

ในปัจจุบันแอปพลิเคชันบนระบบปฏิบัติการ Android และบนระบบปฏิบัติการ iOS กำลังเป็นที่สนใจ

และได้รับความนิยมเป็นอย่างมากไม่ว่าจะเป็น Apps เพื่อความบันเทิง สุขภาพ การศึกษา และเกมเองก็เป็น

หนึ่งใน Apps เพื่อความบันเทิงที่จะสามารถ Interactive กับผู้ใช้งาน Apps เป็นอย่างดี

หมากฮอสเวทมนต์ (MagicCheckers) หรือหมากฮอสเป็นชื่อของเกมกระดานที่ใครๆก็คุ้นหูกันเป็น

อย่างดีถ้ามองโดยในมุมของคนที่ไม่เคยเล่นแล้วก็จะคิดว่าเป็นแค่เกมที่เดินกินหมากในกระดานกันธรรมดา

ทั่วไป แต่จริงๆแล้วหมากฮอสเป็นเกมที่ต้องใช่ความคิดและการวางแผนในการเล่นใช้สมองในการแก้ปัญหา

ที่ซับซ้อน ลับสมองให้เฉียบคมมีสมาธิ เพื่อที่จะสามารถเอาชนะหรือกินหมากของคู่ต่อสู้ให้ได้และหมากฮอส

ก็ยังเป็นเกมกีฬาที่ได้รับการยอมรับและจัดแข่งขันกันอยู่ทั่วโลก ทางผู้จัดทำโครงงานจึงต้องการนำแนวคิดนี้

มาคิดและสร้างระบบเกมนี้ขึ้นมาให้สามารถเล่นได้บน สมาร์ทโฟน Android โดยจะใส่ความ Creative ของผู้จัดทำโครงการลงไปในเกมนี้ด้วย เพื่อความแตกต่างที่เหมือนกัน

2.1 Module Setting Game

-เปลี่ยนภาษา

-เปิด-ปิดเสียงประกอบ

-เปิด ปิดเพลงประกอบ

2.4 Module Skill

-มีการกินหมากเกิดขึ้นจะมี

รูปแบบการกินให้เลือก

ขอบเขตของโครงงาน

2.3 Module Movement

-มีการเคลื่อนที่ของหมากเมื่อทำการเดินหมาก

1. โมดูล

2. กลุ่มผู้ใช้

3. ข้อจำกัด

หลักการและเหตุผล

3. เครื่องมือที่ใช้ในการพัฒนา

2.

2.6 Module Output

-สามารถแสดงผลของเกมเมื่อเล่นจบได้

-แสดงผลทางหน้าจอตามที่เราได้เลือก

หรือกำหนดไว้ได้

2.5 Module Checkers Type

-สามารถเลือกตัวละคร(หมาก)

และเปลี่ยนรูปแบบกระดาษหมากฮอสได้

2.8 Module Mode

-สามารถปรับการเล่นให้เป็นแบบ

offline หรือ online ได้

3.1 เครื่องมือ และอุปกรณ์

• Notebook Windows 7

• Tablet

• Smart Phone

2.7 Module Level

-สามารถปรับระดับความยากของAIได้

เทคโนโลยีของโทรศัพท์มือถือได้รับความนิยมเพิ่มขึ้นเป็นอย่างมากในปัจุบันและได้มีการพัฒนา Application

ต่างๆ ขึ้นเพื่อรองรับการใช้งานกับโทรศัพท์มือถือซึ่งคนสมัยนี้ส่วนใหญ่ก็ใช้โทรศัพท์พอๆกันกับการใช้คอมพิวเตอร์แล้ว

จึงเป็นสาเหตุให้คิดจะทำ Apps (Magic Checkers)นี้ขึ้นจะเห็นได้ชัดเลยว่าเด็กสมัยนี้จะชอบเล่นเกมมากกว่าการจะไป

นั่งท่องหนังสือหรือนั่งสมาธิ และทางตัวผู้จัดทำโครงงานเองก็ชอบเล่นเกมอยู่แล้วจึงคิดที่จะทำ Magic Checker ขีึ้น

ซึ่งเป็นเกมหมากฮอสที่ช่วยในการพัฒนาสมองพัฒนาความคิดในเชิงวิเคราะห์ ในรูปแบบเกม เเต่ภายในตัว Apps

(Magic Checkers) นี้จะมีสิ่งที่แปลกใหม่กว่าการเล่นในรูปเเบบเดิมๆ เพื่อจูงใจให้เด็กเข้ามาเล่น เช่น การที่มีสกิล

ของหมากให้เลือกเวลาเรากินหมากได้ มีตัวละครซึ่งใช่เเทนเป็นหมากในการเดิน เป็นต้น

3.2 ซอฟต์แวร์

• ระบบปฏิบัติการ windows 7

• Server

• Eclipse

• ADT Plugin for Eclipse

• Android NDK

• UNITY 3D Free

• AndEngine

• Box2D

• Adobe Flash

1.

ระบบ หมากฮอสเวทมนต์ (Magic Checkers) แบ่งออกเป็น 8 โมดูล

1.1 Module Setting Game

1.2 Module AI (artificial intelligence)

1.3 Module Movement

1.4 Module Skill

1.5 Module Checkers Type

1.6 Module Output

1.7 Module Level

1.8 Module Mode

วัตถุประสงค์ของโครงงาน

4.รายละเอียดโปรแกรมที่จะพัฒนา

ประเภทโปรแกรมที่นำเสนอ Mobile Application

(1) สร้างเกมหมากฮอสเวทมนต์ ที่สามารถเล่นได้

บนระบบปฎิบัติการ Android

(2) เพื่อที่จะสร้างความบันเทิงและ Interactive กับผู้ใช้

(3) เพื่อที่จะไม่พัฒนาระบบที่เป็นแค่ CAI ธรรมดาๆ

ซึ่งมีอยู่มากแล้วในปัจจุบัน

ทีมพัฒนา

4.

4.1 Input/Output Specification: ระบุรายละเอียดข้อมูลรับเข้าสู่ระบบและข้อมูลหรือผลลัพธ์

ที่ส่งออกจากระบบ โดยแยกตามประเภทผู้ใช้งานระบบ (Ended-User)

4.1.1 สามารถปรับตั้งค่าของเกมได้

- ส่วนการนำเข้าข้อมูล(Input Specification)

เลือกภาษาที่จะแสดง, เปิดปิดเสียงประกอบ, เปิดปิดเพลงประกอบ

- ส่วนผลลัพธ์ที่ส่งออกจากระบบ(Output Specification)

แสดงผลของภาษา, เสียง, เพลง ตามที่ผู้ใช้ต้องการ

4.1.2 สามารถเลือกรูปแบบการเล่นได้

- ส่วนการนำเข้าข้อมูล(Input Specification)

สามารถเลือกที่จะเลือกแบบ offline หรือ online ก็ได้

- ส่วนผลลัพธ์ที่ส่งออกจากระบบ(Output Specification)

เข้าตามที่ผู้ใช้อยากเล่นกับAI หรือ กับ Users คนอื่นๆ

หัวหน้าโครงงาน

1. ชื่อ-สกุล นาย ธนายุส ศรีไพบูลย์ รหัสนักศึกษา 5550110027

ผู้ร่วมโครงการ

2. ชื่อ-สกุล นาย ธีรภัทร์ พูนช่วย รหัสนักศึกษา 5550110030

4.1.3 สามารถเลือกรูปลักษณ์ของตัวหมากและกระดานหมากได้

- ส่วนการนำเข้าข้อมูล(Input Specification)

Touch Sceen ในส่วนของรูปแบบตัวกระดานกับตัวหมากฮอส

- ส่วนผลลัพธ์ที่ส่งออกจากระบบ(Output Specification)

ลักษณะของตัวหมากเปลี่ยนไปตามเเบบที่ต้องการ

4.2 Functional Specification : ระบุความสามารถของระบบ โดยแยกตามประเภทผู้มีสิทธิใช้งาน (User Privilege)

4.2.1 ผู้ใช้

• สามารถปรับภาษาที่แสดงได้

• สามารถเปิดปิดเสียงประกอบได้

• สามารถเปิดปิดเพลงประกอบได้

• สามารถเล่นกับAIได้

• ปรับระดับความยากของAIได้

• เปลี่ยนรูปลักษณ์ของตัวหมากได้

• เปลี่ยนรูปลักษณ์ของกระดานได้

• เลือกรูปแบบการฆ่าได้

• สามารถเล่นแบบออนไลน์ได้

4.

4.3 โครงสร้างของซอฟต์แวร์ (Design)ให้นักศึกษาเขียน Hierarchical task analysis หรือ Use Case Diagram ของระบบที่พัฒนา

Learn more about creating dynamic, engaging presentations with Prezi