Introducing
Your new presentation assistant.
Refine, enhance, and tailor your content, source relevant images, and edit visuals quicker than ever before.
Trending searches
ซึ่งได้นำแนวคิดของทฤษฏีนี้ไปใช้ในการแก้ปัญหาต่างๆพยายามทำ ความเข้าใจโดยมองปัญหาทุกแง่ทุกมุมไม่มองปัญหาโดยมีอคติและใช้ ความคิดอย่างมีเหตุมีผลในการแก้ปัญหามองเด็กนักเรียนในภาพรวม ( The Whole Person ) ไม่มองในด้านใด ด้านหนึ่ง ซึ่งเด็กแต่ละคนนั้น ต่างมีความชอบ พื้นฐานความรู้ต่างกัน ดังนั้นเราจึงแก้แต่ละปัญหาโดย
ปัญหาที่
ทฤษฎีการกลุ่มเกสตัลท์ (Gestalt ‘s Theory)
1. แรกนักเรียนจะไม่กล้าแสดงออกไม่กล้า ถาม เนื่องจากไม่คุ้นชินกับผู้สอนทำให้เรา ไม่ทราบว่าเด็กแต่ละคนเข้าใจในเนื้อหามากแค่ไหนแล้วมีพื้นฐานความรู้ประมาณใด
2. นักเรียนยังกลัวว่าหากทำไปแล้วจะผิด รวมถึงนักเรียนมีความรู้สึกเกร็งในการทำการทดลอง
3. นักเรียนแต่ละคนมีความรู้และความ สามารถพื้นฐานไม่เท่ากัน
โรงเรียนวัดศรีดอนชัย ต.บ้านธิ อ.บ้านธิ จ.ลำพูน 51180
วันที่ทำกิจกรรม 31 มีนาคม 2559
1. วิธีการแก้ปัญหาโดยการหยั่งเห็นจะเกิดขึ้นทันที ทันใด เหมือนความกระจ่างแจ้งในใจ
2. การเรียนรู้การหยั่งเห็นเป็นการที่ผู้เรียนมอง เห็น รับรู้ความสัมพันธ์ของเหตุการณ์ ไม่ใช่เป็น การตอบสนองของสิ่งเร้าเพียงอย่างเดียวกระบวนการแก้ปัญหาของลิงชิมแพนซี
3. ความรู้เดิมของผู้เรียน ประสบการณ์ของผู้เรียน มีส่วนที่จะช่วยให้ผู้เรียนเกิดการหยั่งเห็นในเหตุ-การณ์ที่ประกอบขึ้นเป็นปัญหาและช่วยให้การหยั่งเห็นเกิดขึ้นเร็ว
2. การหยั่งเห็น (Insight) หมายถึง การเกิด ความคิดแวบขึ้นมาทันทีทันใดใน ขณะที่ประสบปัญหาโดยมองเห็นแนวทางใน การแก้ปัญหาตั้งแต่เริ่มแรกเป็นขั้นตอนจน สามารถแก้ปัญหาได้เป็นการมองเห็นสถานการณ์ในแนวทางใหม่ ๆขึ้นโดยเกิดจากความ เข้าใจ และความรู้สึกที่มีต่อสถานการณ์ว่าได้ ยินได้ค้นพบแล้วผู้เรียนจะมองเห็นช่องทางการแก้ปัญหาขึ้นได้ในทันที ทันใด
-การทดลองกลุ่มเกสตัลท์เพื่อที่จะได้เข้าใจ วิธีการแนวคิดของนักจิตวิทยากลุ่มนี้เกี่ยวกับการ เรียนรู้ด้วย
1.1 กฎแห่งความชัดเจน (Clearness) การเรียนรู้ที่ดีต้องมีความชัดเจนและแน่นอน เพราะผู้เรียนมีประสบการณ์เดิมแตกต่างกัน
1.2 กฎแห่งความคล้ายคลึง (Law of Similarity) เป็นการวางหลักการรับรู้ในสิ่งที่คล้ายคลึงกันเพื่อจะได้รู้ว่าสามารถจัดเข้ากลุ่มเดียวกัน
1.3 กฎแห่งความใกล้ชิด (Law of Proximity) เป็นการกล่างถึงว่าถ้าสิ่งใดหรือสถานการณ์ใดที่มีความใกล้ชิดกัน ผู้เรียนมีแนวโน้มที่จะรับรู้สิ่งนั้นไว้แบบเดียวกัน
วิธีการที่ลิงใช้แก้ปัญหานี้ โคล์เลอร์เรียกพฤติกรรมนี้ว่า เป็น การหยั่งเห็น เป็นการมอง เห็นช่องทางในการแก้ปัญหา โดยลิงชิมแพนซีได้มีการรับรู้ ในความสัมพันธ์ระหว่างไม้สอย กล้วยที่แขวนอยู่ข้างนอก กรงและสามารถใช้ไม้นั้นสอย กล้วยได้เป็นการนำไปสู่เป้าหมาย
1.4 กฎแห่งความต่อเนื่อง (Law of Continuity) สิ่งเร้าที่มีทิศทางในแนวเดียวกัน ซึ่งผู้เรียนจะรับรู้ว่าเป็นพวกเดียวกัน
1.5 กฎแห่งความสมบูรณ์ (Law of Closer) สิ่งเร้าที่ขาดหายไปผู้เรียนสามารถรับรู้ให้เป็นภาพสมบูรณ์ได้โดยอาศัยประสบการณ์เดิม
หลักการเรียนรู้ของทฤษฎีกลุ่มเกสตัลท์เน้นการเรียนรู้ที่ส่วนรวมมากกว่าส่วนย่อยซึ่งจะเกิดขึ้นจากประสบการณ์และการเรียนรู้ เกิดขึ้นจาก 2 ลักษณะคือ
1. การรับรู้ (Perception) เป็นการแปรความหมายจากการสัมผัสด้วยอวัยวะสัมผัสทั้ง 5 ส่วนคือหู ตา จมูก ลิ้นและผิวหนัง การรับรู้ทางสายตาจะประมาณร้อยละ 75 ของการรับรู้ทั้งหมด ดังนั้นกลุ่มของเกสตัลท์จึงจัดระเบียบการรับรู้โดยแบ่งเป็นกฎ 4 ข้อ เรียกว่า กฎแห่งการจัดระเบียบ
ทฤษฎีการกลุ่มเกสตัลท์ (Gestalt ‘s Theory)