กฎการเรียนรู้
หลักการเรียนรู้ของทฤษฎี กลุ่มเกสตัลท์เน้นการเรียนรู้ที่ส่วนรวมมากกว่าส่วนย่อย ซึ่งจะเกิดขึ้นจากประสบการณ์และการเรียนรู้เกิดขึ้นจาก 2 ลักษณะคือ
2. การหยั่งเห็น (Insight)
การเกิดความคิดแวบขึ้นมาทันทีทันใด ในขณะที่ประสบปัญหาโดยมองเห็นแนวทางในการแก้ปัญหาตั้งแต่เริ่มแรกเป็นขั้นตอนจนสามารถแก้ปัญหาได้เป็นการมองเห็นสถานการณ์ในแนวทางใหม่ ๆ ขึ้น โดยเกิดจากความเข้าใจและความรู้สึกที่มีต่อสถานการณ์ว่า
ได้ยินได้ค้นพบแล้วผู้เรียนจะมองเห็นช่องทางการแก้ปัญหาขึ้นได้ใน
ทันทีทันใด
1. การรับรู้ (Perception)
การนำทฤษฎีนี้มาใช้ในการเรียน
การสอน
เป็นการแปรความหมายจากการสัมผัสด้วยอวัยวะสัมผัสทั้ง 5 ส่วนคือ
หู ตา จมูก ลิ้นและผิวหนัง การรับรู้ทางสายตาจะประมาณร้อยละ 75 ของการรับรู้ทั้งหมด ดังนั้นกลุ่ม
ของเกสตัลท์จึงจัดระเบียบการรับรู้โดยแบ่งเป็นกฎ 5 ข้อ เรียกว่า กฎแห่งการจัดระเบียบ คือ
1.3 กฎแห่งความใกล้ชิด
(Law of Proximity)
1.2 กฎแห่งความคล้ายคลึง
(Law of Similarity)
1.1 กฎแห่งความชัดเจน (Clearness)
เป็นการวางหลักการรับรู้ในสิ่งที่คล้ายคลึงกันเพื่อจะได้รู้ว่าสามารถจัดเข้ากลุ่มเดียวกัน
การเรียนรู้ที่ดีต้องมีความชัดเจนและแน่นอน เพราะผู้เรียนมีประสบการณ์เดิมแตกต่างกัน
เป็นการกล่างถึงว่าถ้าสิ่งใดหรือสถานการณ์ใดที่มีความใกล้ชิดกันผู้เรียนมีแนวโน้มที่จะรับรู้สิ่งนั้นไว้แบบเดียว
กัน
1.4 กฎแห่งความต่อเนื่อง
(Law of Continuity)
1.5 กฎแห่งความสมบูรณ์
(Law of Closer)
สิ่งเร้าที่ขาดหายไปผู้เรียนสามารถรับรู้ให้เป็นภาพ
สมบูรณ์ได้โดยอาศัยประสบการณ์เดิม
สิ่งเร้าที่มีทิศทางในแนวเดียวกัน ซึ่งผู้เรียนจะรับรู้ว่าเป็น
พวกเดียวกัน
ในการสอนครูควรจะให้ผู้เรียนมองเห็นโครงสร้าง ทั้งหมดของเรื่องที่จะสอนก่อน เพื่อให้เด็กเกิดการรับรู้เป็นส่วนรวมแล้วจึงแยกส่วนออกมาสอนเป็นตอนๆเน้นให้ผู้เรียนเรียนด้วยความเข้าใจมากกว่าเน้นการเรียนแบบท่องจำการเรียนด้วยความเข้าใจต้องอาศัยสื่อที่ชัดเจนประกอบการเรียนและต้องเรียนด้วยการปฏิบัติจริงหรือผู้เรียนลงมือกระทำเอง( LearningbyDoing )ฝึกให้ผู้เรียนสามารถโยงความสัมพันธ์ระหว่างความรู้ ที่เรียนไปแล้วกับความรู้ใหม่ว่ามีความแตกต่างและคล้ายคลึงกันอย่างไรเพื่อช่วยให้จำ
ได้นาน
ทฤษฎีเกสตัลท์ (Gestalt Theory)
เสนอ
ผศ.ดร. วิทวัฒน์ ขัตติยะมาน
นำแนวคิดของทฤษฏีนี้ไปใช้ในการแก้ปัญหาต่างๆ ว่าควรทำความเข้าใจโดยมองปัญหาทุกแง่ทุกมุม ไม่ควรมองปัญหาโดยมีอคติ และใช้ความคิดอย่างมีเหตุมีผลในการแก้ปัญหา
นำไปใช้ในการทำความเข้าใจบุคคลว่า ควรมองเขาในภาพรวม ( The Whole Person ) คือ การศึกษาคุณลักษณะต่างๆ ของบุคคลกับความมีเหตุผล ไม่ตัดสินความดีความชั่ว ของบุคคล โดยมองด้านใดด้านหนึ่งของเขาเท่านั้น
นำไปใช้ในการทำความเข้าใจบุคคลว่า ควรมองเขาในภาพรวม ( The Whole Person ) คือ การศึกษาคุณลักษณะต่างๆ ของบุคคลกับความมีเหตุผล ไม่ตัดสินความดีความชั่ว ของบุคคล โดยมองด้านใดด้านหนึ่งของเขาเท่านั้น
แนวคสามคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้ของทฤษฎีนี้ คือ
การเรียนรู้เป็นกระบวนการทางการคิดซึ่งเป็นกระบวนการภายใน
ตัวมนุษย์บุคคลจะเรียนรู้จากสิ่งเร้าที่เป็นส่วนรวมได้ดีกว่าส่วนย่อย
หลักการจัดการเรียนการสอนตามทฤษฎีนี้จะเน้นกระบวนการคิด การสอนโดยเสนอภาพรวมก่อนการเสนอส่วนย่อย
ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีประสบการณ์มากและหลากหลายซึ่งจะช่วยให้ผู้เรียนสามารถคิดแก้ปัญหา คิดริเริ่มและเกิดการเรียนรู้แบบหยั่งเห็นได้
การนำหลักการทฤษฎีกลุ่มความรู้ ความเข้าใจ
ไปประยุกต์ใช้
1. ครูควรสร้างบรรยากาศการเรียนที่เป็นกันเอง และมีอิสระที่จะให้ผู้เรียนแสดงความคิดเห็นอย่างเต็มที่ทั้งที่ถูกและผิด เพื่อให้ผู้เรียนมองเห็นความสัมพันธ์ของข้อมูล และเกิดการหยั่งเห็น
2. เปิดโอกาสให้มีการอภิปรายในชั้นเรียน โดยใช้แนวทางต่อไปนี้
--เน้นความแตกต่าง
--กระตุ้นให้มีการเดาและหาเหตุผล
--กระตุ้นให้ทุกคนมีส่วนร่วม
--กระตุ้นให้ใช้ความคิดอย่างรอบคอบ
--กำหนดขอบเขตไม่ให้อภิปรายออกนอกประเด็น
5.บุคลิกภาพของครูและความสามารถในการถ่ายทอดจะเป็นสิ่งจูงใจให้ผู้เรียน
มีความศรัทธาและครูจะสามารถเข้าไปอยู่ใน Life space ของผู้เรียนได้
4.คำนึงถึงเจตคติและความรู้สึกของผู้เรียนพยายามจัดกิจกรรมที่กระตุ้นความสนใจ
ของผู้เรียนมีเนื้อหาที่เป็นประโยชน์ผู้เรียนนำไปใช้ประโยชน์ได้และควรจัดโอกาสให้
ผู้เรียนรู้สึกประสบความสำเร็จด้วย
3. การกำหนดบทเรียนควรมีโครงสร้างที่มีระบบเป็นขั้นตอน เนื้อหามีความสอดคล้องต่อเนื่องกัน