สงครามระหว่างอินเดีย-ปากีสถาน ครั้งที่ 1
The first KashmiR war
ค.ศ 1947 - 1949
สงครามครั้งที่2 "The second kashmir War"
ค.ศ 1965 - 1966
ชนวนสงคราม
- ปากีสถานได้บุกยึดดินแดนทางตะวันตกเฉียงเหนือของแคชเมียร์ โดยอ้างว่าทำการปลดปล่อยชาวแคชเมียร์จากมหาราชา
- มหาราชาตัดสินใจขอความช่วยเหลือทางการทหารจากรัฐบาลอินเดีย
ชนวนสงคราม
-ปากีสถานส่งกำลังทหารเข้าโจมตี Runn of Kachehh
โดยอ้างว่าเป็น"วันปลดปล่อยแคชเมียร์" (Kashmir Revolt Day)
- ปากีสถานใช้อาวุธทันสมัย ละเมิดแนวหยุดยิ่งแคชเมียร์ ในเขตยึดครองของอินเดีย
ผลของสงคราม
- อินเดียได้ส่งทหารตอบโต้ยึดดินแดนกลับคืนมา และรุกคืบหน้าเข้าใกล้เมืองละฮอร์ของ
ปากีสถาน จนทำให้ปากีสถานต้องยอมหยุดยิงและเจราจาสงบศึก
สงครามครั้งที่ 3 " Bangladesh Liberation War"
ค.ศ1971
จุดเริ่มต้นของความขัดแย้ง อินเดีย-ปากีสถาน
ผลลัพธ์จากสงคราม
1. แบ่งแคชเมียร์ตะวันออก ซัมมูร์ และลาดัคห์ เป็นเขตยึดครองในการปกครองของอินเดีย
2 แคชเมียร์ตะวันตก ( "อาซัค" ) เป็นเขตยึดครองของปากีสถาน
ชนวนสงคราม
- อินเดียได้ให้การสนับสนุนในการส่งกองกำลัง ต่อสู้เพื่ออิสรภาพ
ในการแยกตัวของปากีสถานตะวันออก ออกจากปากีสถานตะวันตก เป็น "บังคลาเทศ" ในปัจจุบัน
- ประชากรส่วนใหญ่ในดินแดนทางตะวันออกของปากีสถาน มีเชื้อสาย Bengali มีความต้องการแยกตัวเป็นอิสระจากปากีสถาน
ผลลัพธ์ของสงคราม
- กองกำลังปากีสถานตะวันออกที่ร่วมกับกองกำลังสนุบสนุนของอินเดีย MuktiBahini สามารถเอาชนะกองกำลังจากปากีสถาน ทำให้ปากีสถานตะวันออกสามารถแยกตัวออกจากปากีสถานตะวันตก เป็นประเทศบังคลาเทศในปัจจุบัน
- ความแตกต่างในการนับถือศาสนา
- ข้อพิพาทในการมีสิทธิ๋เหนือดินแดน แคชเมียร์-ซัมมูร์
- ความพยายามในการรุกรานแคชเมียร์ของชนเผ่าปราชทุน ในการที่จะรวบรวมแคชเมียร์ให้เป็นหนึ่งเดียวกับปากีสถาน
-เหตุการณ์ความไม่สงบในแคว้นแคชเมียร์ ที่ต่อต้านกลุ่มที่นับถือศาสนาอิสลามที่
ได้รับการสนับสนุนจากรัฐบาลปากีสถาน ในความพยายามจะรวมแคว้นกับปากีสถาน
ตลอด50ปีที่ผ่านมา ชาวปากีสถานยึดมั่นในความเชื่อว่าแคว้นชันมูและแคชเมียร์
เป็นของปากีสถานเพราะประชากรส่วนใหญ่ที่อาศัยอยู่ในหุบเขาแคชเมียร์นับถือ
ศาสนาอิสลามขณะที่อินเดียอ้างว่าแคว้นชันมูและแคชเมียร์เป็นของอินเดีย
เพราะมหาราชาผู้ปกครองทั้งสองแคว้นได้ตัดสินใจรวมแคว้นชันมูและแคชเมียร์เข้าเป็นดินแดนของอินเดียเองแคว้นชันมูและแคชเมียร์เป็นต้นตอของข้อพิพาทในภูมิภาคเอเชียใต้ตลอดมา นับตั้งแต่อังกฤษให้เอกราชแก่ดินแดนจักรวรรดิอินเดียของอังกฤษและเป็นชนวนเหตุ
ให้เกิดสงครามระหว่างอินเดียและปากีสถานถึง4ครั้งซึ่งยืดเยื้อมาจนถึงทุกวันนี้
สงครามครั้งที่ 4 " KArgil war" 26 MAY-26 July 1999
เหตุการณ์ก่อการร้ายที่กรุงมุมไบ
ชนวนสงคราม
-ปากีสถานได้เปิดค่ายผู้ก่อการร้ายในเบตแคชเมียร์ของบริเวณที่ปากีสถานปกครองเอง
โดยเปลี่ยนกลยุทธ์วิธีการรบจากแบบเผชิญหน้า เป็นแบบการใช้ กองกำลัง Jihud เข้าต่อสู้กับอินเดีย
ผลลัพธ์ของสงคราม
- อินเดียได้รับชัยชนะ แต่อินเดียพบกับความสูญเสีย ทหารอินเดียหลายกองพันจากการเข้าปะทะกับกลุ่ม Jihud
- นานาชาติหันมาสนใจปัญหาความขัดแย้ง ในเรื่องข้อพิพาทแคว้นแคชเมียร์ ระหว่างอินเดียและปากีสถาน
เหตุการณ์ระเบิดพลีชีพ ใกล้สถานทูตอินเดีย
ปะทะกัน โดยโฆษกกองทัพและกองกำลังรักษาความมั่นคง
ชายแดน (บีเอสพี) ของอินเดีย
การเข้ามามีส่วนเกี่ยวข้องกับความขัดแย้งของมหาอำนาจ
- สหรัฐอเมริกา
ในช่วงสงครามอัฟกานิสถาน สหรัฐอเมริกาจำเป็นจะต้องอาศัยทั้ง 2 ประเทศ
(อินเดีย ปากีสถาน) ในการทำสงครามกับอัฟกานิสถาน ซึ่งทำให้ทั้งปากีสถาน
และอินเดียพยายามที่จะวางนโยบายการเมืองของตัวเองให้สหรัฐอเมริกาเข้ามา
สนับสนุนนโยบายของตนเองโดยปากีสถานต้องการการสนับสนุนในเรื่องของ
อาวุธยุทโธปกรณ์และเทคโนโลยีทางการทหารและอินเดียต้องการความร่วมมือ
จากสหรัฐอเมริกาในการต่อต้านกลุ่มก่อการร้าย ที่สร้างสถานการณ์ความไม่สงบ
ในประเทศของตน
อินเดีย
- มหาราชาแห่งแคว้นแคชเมียร์ตัดสินใจที่จะรวมดินแดนเข้ากับอินเดีย
โดยมหาราชาได้ลงนามในการส่งมอบสัตยาบันหรือภาคยนุวัติสาร
แก่ผู้แทนของนายกรัฐมนตรีอินเดีย ซึ่งเป็นการใช้อำนาจ
โดยชอบธรรมของพระราชา
เหตุผลในการอ้างสิทธิ์์เหนือดินแดนแคชเมียร์
- ปากีสถานมองว่า การส่งมอบสัตยาบันหรือภาคยนุวัติสาร เป็นสิ่งที่ไม่ถูกต้อง เพราะมหาราชาไม่มีสิทธิ์ที่จะลงนามกับอินเดีย เนื่องจากข้อตกลงสงบศึกระหว่างปากีสถานกับแคว้ชแคชเมียร์ยังคงมีผลบังคับใช้อยู่
- ปากีสถานมองว่ามหาราชา ไม่มีสิทธิ์ที่จะตัดสินใจในการนำดินแดนทั้งสองแคว้นเข้ารวมเป็นหนึ่งเดียวกับอินเดีย เพราะมหาราชาได้หลบหนีออกจากดินแดนทั้ง 2 จึงทำให้ไม่มีอำนาจเหนือดินแดนทั้งกล่าวแล้ว
- เพราะประชากรส่วนใหญ่ในแคว้ชแคชเมียร์นับถือศาสนาอิสลาม
และมีความต้องการที่จะรวมแคว้นเป็นหนึ่งเดียวกับปากีสถาน
เนื่องจากผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจ และส่วนใหญ่ล้วนเกี่ยวข้องกับประเทศตะวันตกที่เข้ามามีส่วนเกี่ยวข้องกับความขัดแย้งรวมถึงการขยายอำนาจของมหาอำนาจโลกใหม่อย่างสหรัฐอเมริกา ที่ปัจจุบันมีแนวโน้มที่จะสนับสนุนปากีสถานในเรื่องของด้าน เทคโนโลยีทางการทหาร ซึ่งจีนก็เป็นมหาอำนาจที่มีอิทธิผลในเขตภูมิภาคนี้ จึงเข้ามามีส่วนเกี่ยวข้องในการถ่วงดุลอำนาจของความขัดแย้ง เพื่อปกป้องผลประโยชน์ที่ตัวเองจะได้รับจากความขัดแย้งในครั้งนี้
ความขัดแย้งระหว่างอินเดีย - ปากีสถาน